ผมก็ขอนำวิธีการขยายเชื้อเห็ดโคนป่าจากจาวปลวก (fungus garden) มาโพสต์ไว dịch - ผมก็ขอนำวิธีการขยายเชื้อเห็ดโคนป่าจากจาวปลวก (fungus garden) มาโพสต์ไว Việt làm thế nào để nói

ผมก็ขอนำวิธีการขยายเชื้อเห็ดโคนป่าจ

ผมก็ขอนำวิธีการขยายเชื้อเห็ดโคนป่าจากจาวปลวก (fungus garden) มาโพสต์ไว้เป็นความรู้ครับ
ในระบบนิเวศน์หนึ่งๆประกอบด้วยผู้ผลิตผู้บริโภคและผู้ย่อยสลายซึ่งมีความสัมพันธ์เกื้อกูลในลักษณะของห่วงโซ่อาหารและสายใยอาหารตามพื้นผิวของระบบนิเวศน์เอง ก็มีอาณาจักรแห่งผู้ย่อยสลายในธรรมชาติซึ่งประกอบด้วยสิ่งมีชีวิตขนาดจิ๋วๆ ชนิดต่างๆ มากมาย ต่างทำหน้าที่ในการย่อยสลายซากพืช ซากสัตว์ เพื่อการหมุนเวียนพลังงาน ในระบบนิเวศ ประกอบด้วย ปลวก จุลินทรีย์ เห็ด รา สัตว์หน้าดินและสัตว์ในดิน การย่อยสลายเป็นปัจจัยหนึ่งในห่วงโซ่อาหาร (Food Chain) และสายใยอาหาร (Food Web) สัตว์ย่อยสลายชนิดต่างๆมีบทบาทสำคัญในฐานะผู้ย่อย "ขยะธรรมชาติ" เช่นซากพืช ซากสัตว์ ให้ผุพังและเปลี่ยนแปลงเป็นฮิวมัสหรืออินทรีย์วัตถุภายในดินกลายเป็นธาตุอาหารของพืชและสัตว์ชนิดอื่นๆ ทำให้เกิดการถ่ายทอดและหมุนเวียนพลังงานสร้างความอุดมสมบูรณ์ก่อให้เกิดความสมดุลในระบบนิเวศน์
ปลวกเป็นแมลงสังคมที่มีความสำคัญอยู่ในระบบนิเวศป่าไม้คือเป็นทั้งผู้สร้างและผู้ทำลายโดยปลวกทำหน้าที่เป็นผู้ย่อยสลาย(decomposer)พวกอินทรีย์วัตถุต่างๆที่อยู่ในป่าธรรมชาติเช่น ซากพืช เศษไม้ ใบไม้ หรือท่อนไม้ที่หักทับถมกันอยู่ให้เปลี่ยนเป็นฮิวมัสและก่อให้เกิดการหมุนเวียนอย่างรวดเร็วและต่อเนื่องของธาตุอาหารในดินสร้างความอุดมสมบูรณ์ให้กับดินในป่าธรรมชาติ
ปลวกยังมีบทบาทเกี่ยวพันเป็นลูกโซ่อาหารที่ซับซ้อนอยู่ในระบบนิเวศ นอกจากนี้รังปลวก ขนาดใหญ่ที่สร้างรังขึ้นมาบนดิน พืช หรือสัตว์ชนิดต่างๆ สามารถใช้เป็นแหล่งอาหารและที่อยู่อาศัยได้อีกด้วย ความสามารถในการย่อยสลายอินทรีย์วัตถุและเซลลูโลสในไม้ของปลวกชนิดต่างๆ พบว่า มีความสัมพันธ์กับชนิดของจุลินทรีย์ที่อาศัยอยู่ในลำไส้ของปลวก ซึ่งจะแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับชนิด ของปลวกและสภาพแวดล้อม
ปลวกในประเทศไทยมีหลายชนิดทุกชนิดจะกัดกินไม้ทั้งนั้นบางชนิดมีจุลินทรีย์ ช่วยย่อยเซลลูโลสอยู่ในระบบทางเดินระบบอาหาร แต่บางชนิดมีการย่อยไม้นอกตัวปลวกโดยการสร้างจาวปลวก หรือ fungus garden ในฤดูกาลที่เหมาะสมจะเกิดเห็ดปลวก หรือเห็ดโคนขึ้น ซึ่งเราเก็บมารับประทานได้ เห็ดปลวกปัจจุบันนับว่าน้อยลง และราคาแพงขึ้น เป็นการกระตุ้นนักวิชาการให้ศึกษาวิจัยเห็ดนี้ ซึ่งปัจจุบันมีผลการศึกษาในระดับหนึ่ง
ปลวกเป็นสัตว์ที่มีความสำคัญต่อการเกิดของเห็ดโคนมาก เพราะหากไม่มีปลวกอาศัยอยู่ใน จอมปลวกแล้ว เห็ดโคนก็ไม่อาจเกิดขึ้นได้ ส่วนการหาเห็ดโคนนั้นภูมิปัญญาท้องถิ่นก็ยังมีเคล็ดลับเล็กๆ น้อยๆ ด้วยว่า หาก จะหาเห็ดโคนให้เจอง่ายๆ แล้วต้องหาตอนกลางคืนเท่านั้น เพราะใต้ต้นเห็ดโคนจะมีสารเรืองแสงอ่อนๆ คือธาตุฟอสฟอรัสอยู่ การหาเห็ดโคนตอนกลางคืนจึงหาเจอได้ง่ายกว่าหาตอนกลางวันมาก
เห็ดโคน เป็นเห็ดป่าเติบโตได้ดีในสภาพธรรมชาติ ความชื้นและอุณหภูมิที่พอเหมาะ มีรูปร่างเหมือนเห็ดทั่วไปคือมีก้านเห็ดและหมวกเห็ด ดอกใหญ่ โคนอวบหนา มีกลิ่นเฉพาะตัว มักเกิดตามจอมปลวก จึงเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า เห็ดปลวก มีการอพยพของปลวกที่เราเรียกว่า แมลงเม่า ออกจากรังปลวกเดิม เพื่อสร้างรังใหม่ การที่ฝนตกชุกจนมีความชุ่มชื้นเหมาะสม เมื่อปลวกในรังปลวกมีปริมาณลดลง ตุ่มดอกเห็ดเล็กๆ สามารถมีโอกาสที่จะเจริญเติบโตเป็นดอกเห็ดที่มีความชุ่มชื้นออกมาได้
คนไทยเรารู้จักเห็ดชนิดนี้มานานและรู้ว่าสามารถนำมาทำอาหารได้หลากหลายชนิด ประกอบกับการที่เห็ดโคนเองมีรสชาติที่น่ารับประทาน จึงจัดเป็นเห็ดหายากจะต้องหาตามป่าเขา ห่างไกล ความเจริญ ซึ่งเห็ดโคนนั้นมีรสหวานอร่อยกว่าเห็ดอื่นๆ ปรุงง่ายเพียงต้มกับเกลือก็ได้น้ำต้มเห็ดรสหวานตามธรรมชาติ
นอกจากนี้ยังมีสรรพคุณช่วยเจริญอาหาร บำรุงกำลัง แก้บิด แก้คลื่นไส้ อาเจียน
แก้ไอ ละลายเสมหะ การทดลองทางเภสัชศาสตร์พบว่าน้ำที่สกัดจากเห็ดโคนสามารถยับยั้งเชื้อโรคบางชนิด เช่น เชื้อไทฟอยด์ได้ จึงเป็นที่นิยมกันมาก ซึ่งมีวางขายเฉพาะในฤดูฝนเท่านั้น
วิธีการเก็บเห็ดโคน ต้องใช้มือถอน ไม่ให้ใช้มีด จอบ หรือไม้ปลายแหลมที่อาจไปทำลายสวนเห็ดรา (fungus garden) ของปลวกซึ่งเป็นจุดกำเนิดที่ทำให้เห็ดโคนเกิดขึ้นมาได้ และเพื่อป้องกันไม่ให้รบกวนช่องรูพรุนๆ ภายในสวนเห็ดราหรือโนดูล (nodule) ที่อยู่ในรังปลวก และเวลาเด็ดเห็ดโคนไปก็ให้เด็ดให้เหลือก้านติดอยู่ที่เดิม ไม่ให้ถอนส่วนที่เป็นสวนเห็ดราออกมาด้วย"

เห็ดโคนจึงจัดว่าเป็นเห็ดที่นิยมบริโภคถึงแม้ว่าจะมีราคาแพง แต่ก็มีหลายหน่วยงานที่จะทดลอง วิจัยเพาะพันธ์ผสมสูตรอาหารทางเคมีและเทคนิควิธีมากมาย ในการเพาะพันธ์เห็ดโคน แต่ก็ยังไม่สามารถประสบความสำเร็จจนถึงการเพาะเป็นอาชีพได้
ประโยชน์ของเชื้อเห็ดโคนป่าจากจาวปลวก (fungus garden) ที่มีต่อเกษตรกรและชุมชน
๑.ใช้สำหรับย่อยสลายฟางข้าวในแปลงนา จุลินทรีย์เชื้อเห็ดโคนป่ามีความสามารถในการย่อยสลาย
เซลลูโลสในเนื้อไม้ได้ดี เมื่อเรานำมาย่อยสลายฟางข้าวจะทำให้ฟางข้าวย่อยสลายอย่างรวดเร็ว
เกษตรกรจะได้ไม่ต้องเผาฟางข้าวก่อนที่จะเตรียมแปลงนา ทำให้ดินในแปลงนามีอินทรียวัตถุ
เพิ่มมากขึ้น ดินจะมีธาตุอาหารมากขึ้นทำให้ลดต้นทุนในการผลิตได้เป็นอย่างมาก
๒.ใช้ช่วยเพิ่มธาตุฟอสฟอรัส (P) เป็นธาตุที่พืชต้องการน้อยกว่าไนโตรเจน เมื่อพืชได้รับ
ฟอสฟอรัสเพียงพอ รากจะแข็งแรง ทนทานต่อการรบกวนของโรคแมลง ทำให้พืชออกดอก
ติดผล และมีคุณภาพดี จุลินทรีย์เชื้อเห็ดโคนป่า มีจุลินทรีย์ที่สามารถตรึงธาตุฟอสฟอรัสจากดิน
มาเลี้ยงพืชได้ ทำให้ชาวนาสามารถลดรายจ่ายในการใช้ปุ๋ยเคมีในนาข้าวได้มาก
๓.ใช้เป็นแหล่งอาหารของครอบครัวโดยนำเชื้อจุลินทรีย์เชื้อเห็ดโคนป่า ไปราดบริเวณโคนต้นไม้ที่
มีปลวกอาศัยอยู่เมื่ออากาศร้อนชื้นเหมาะสมก็จะเห็นเห็ดโคนป่าขึ้น สามารถนำไปเป็นอาหาร
และนำไปขายเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัวได้อีกทาง
๔.ใช้ในการสร้างแรงจูงใจในการปลูกป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่างในพื้นที่ของตนเองเพื่อให้มี
พื้นที่สำหรับเป็นแหล่งอาหารของตนเอง โดยเฉพาะเห็ดโคนป่าที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ
จะสามารถทำให้อนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมของชุมชนได้เป็นอย่างดี
๕. ใช้สำหรับย่อยสลายสมุนไพรในการทำน้ำหมักสมุนไพรป้องกันแมลงศัตรูพืช เชื้อจุลินทรีย์
เชื้อเห็ดโคนป่าสามารถย่อยสลายพืชสมุนไพรได้อย่างรวดเร็ว สามารถลดการใช้ส
0/5000
Từ: -
Sang: -
Kết quả (Việt) 1: [Sao chép]
Sao chép!
Tôi cũng nhận được giám mục hoang dã nấm làm thế nào để trích xuất nhiên liệu từ Joao mối (nấm vườn) một kiến thức về lol đăng bai.ในระบบนิเวศน์หนึ่งๆประกอบด้วยผู้ผลิตผู้บริโภคและผู้ย่อยสลายซึ่งมีความสัมพันธ์เกื้อกูลในลักษณะของห่วงโซ่อาหารและสายใยอาหารตามพื้นผิวของระบบนิเวศน์เอง ก็มีอาณาจักรแห่งผู้ย่อยสลายในธรรมชาติซึ่งประกอบด้วยสิ่งมีชีวิตขนาดจิ๋วๆ ชนิดต่างๆ มากมาย ต่างทำหน้าที่ในการย่อยสลายซากพืช ซากสัตว์ เพื่อการหมุนเวียนพลังงาน ในระบบนิเวศ ประกอบด้วย ปลวก จุลินทรีย์ เห็ด รา สัตว์หน้าดินและสัตว์ในดิน การย่อยสลายเป็นปัจจัยหนึ่งในห่วงโซ่อาหาร (Food Chain) และสายใยอาหาร (Food Web) สัตว์ย่อยสลายชนิดต่างๆมีบทบาทสำคัญในฐานะผู้ย่อย "ขยะธรรมชาติ" เช่นซากพืช ซากสัตว์ ให้ผุพังและเปลี่ยนแปลงเป็นฮิวมัสหรืออินทรีย์วัตถุภายในดินกลายเป็นธาตุอาหารของพืชและสัตว์ชนิดอื่นๆ ทำให้เกิดการถ่ายทอดและหมุนเวียนพลังงานสร้างความอุดมสมบูรณ์ก่อให้เกิดความสมดุลในระบบนิเวศน์ปลวกเป็นแมลงสังคมที่มีความสำคัญอยู่ในระบบนิเวศป่าไม้คือเป็นทั้งผู้สร้างและผู้ทำลายโดยปลวกทำหน้าที่เป็นผู้ย่อยสลาย(decomposer)พวกอินทรีย์วัตถุต่างๆที่อยู่ในป่าธรรมชาติเช่น ซากพืช เศษไม้ ใบไม้ หรือท่อนไม้ที่หักทับถมกันอยู่ให้เปลี่ยนเป็นฮิวมัสและก่อให้เกิดการหมุนเวียนอย่างรวดเร็วและต่อเนื่องของธาตุอาหารในดินสร้างความอุดมสมบูรณ์ให้กับดินในป่าธรรมชาติ ปลวกยังมีบทบาทเกี่ยวพันเป็นลูกโซ่อาหารที่ซับซ้อนอยู่ในระบบนิเวศ นอกจากนี้รังปลวก ขนาดใหญ่ที่สร้างรังขึ้นมาบนดิน พืช หรือสัตว์ชนิดต่างๆ สามารถใช้เป็นแหล่งอาหารและที่อยู่อาศัยได้อีกด้วย ความสามารถในการย่อยสลายอินทรีย์วัตถุและเซลลูโลสในไม้ของปลวกชนิดต่างๆ พบว่า มีความสัมพันธ์กับชนิดของจุลินทรีย์ที่อาศัยอยู่ในลำไส้ของปลวก ซึ่งจะแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับชนิด ของปลวกและสภาพแวดล้อม ปลวกในประเทศไทยมีหลายชนิดทุกชนิดจะกัดกินไม้ทั้งนั้นบางชนิดมีจุลินทรีย์ ช่วยย่อยเซลลูโลสอยู่ในระบบทางเดินระบบอาหาร แต่บางชนิดมีการย่อยไม้นอกตัวปลวกโดยการสร้างจาวปลวก หรือ fungus garden ในฤดูกาลที่เหมาะสมจะเกิดเห็ดปลวก หรือเห็ดโคนขึ้น ซึ่งเราเก็บมารับประทานได้ เห็ดปลวกปัจจุบันนับว่าน้อยลง และราคาแพงขึ้น เป็นการกระตุ้นนักวิชาการให้ศึกษาวิจัยเห็ดนี้ ซึ่งปัจจุบันมีผลการศึกษาในระดับหนึ่ง ปลวกเป็นสัตว์ที่มีความสำคัญต่อการเกิดของเห็ดโคนมาก เพราะหากไม่มีปลวกอาศัยอยู่ใน จอมปลวกแล้ว เห็ดโคนก็ไม่อาจเกิดขึ้นได้ ส่วนการหาเห็ดโคนนั้นภูมิปัญญาท้องถิ่นก็ยังมีเคล็ดลับเล็กๆ น้อยๆ ด้วยว่า หาก จะหาเห็ดโคนให้เจอง่ายๆ แล้วต้องหาตอนกลางคืนเท่านั้น เพราะใต้ต้นเห็ดโคนจะมีสารเรืองแสงอ่อนๆ คือธาตุฟอสฟอรัสอยู่ การหาเห็ดโคนตอนกลางคืนจึงหาเจอได้ง่ายกว่าหาตอนกลางวันมากเห็ดโคน เป็นเห็ดป่าเติบโตได้ดีในสภาพธรรมชาติ ความชื้นและอุณหภูมิที่พอเหมาะ มีรูปร่างเหมือนเห็ดทั่วไปคือมีก้านเห็ดและหมวกเห็ด ดอกใหญ่ โคนอวบหนา มีกลิ่นเฉพาะตัว มักเกิดตามจอมปลวก จึงเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า เห็ดปลวก มีการอพยพของปลวกที่เราเรียกว่า แมลงเม่า ออกจากรังปลวกเดิม เพื่อสร้างรังใหม่ การที่ฝนตกชุกจนมีความชุ่มชื้นเหมาะสม เมื่อปลวกในรังปลวกมีปริมาณลดลง ตุ่มดอกเห็ดเล็กๆ สามารถมีโอกาสที่จะเจริญเติบโตเป็นดอกเห็ดที่มีความชุ่มชื้นออกมาได้ คนไทยเรารู้จักเห็ดชนิดนี้มานานและรู้ว่าสามารถนำมาทำอาหารได้หลากหลายชนิด ประกอบกับการที่เห็ดโคนเองมีรสชาติที่น่ารับประทาน จึงจัดเป็นเห็ดหายากจะต้องหาตามป่าเขา ห่างไกล ความเจริญ ซึ่งเห็ดโคนนั้นมีรสหวานอร่อยกว่าเห็ดอื่นๆ ปรุงง่ายเพียงต้มกับเกลือก็ได้น้ำต้มเห็ดรสหวานตามธรรมชาติ
นอกจากนี้ยังมีสรรพคุณช่วยเจริญอาหาร บำรุงกำลัง แก้บิด แก้คลื่นไส้ อาเจียน
แก้ไอ ละลายเสมหะ การทดลองทางเภสัชศาสตร์พบว่าน้ำที่สกัดจากเห็ดโคนสามารถยับยั้งเชื้อโรคบางชนิด เช่น เชื้อไทฟอยด์ได้ จึงเป็นที่นิยมกันมาก ซึ่งมีวางขายเฉพาะในฤดูฝนเท่านั้น
วิธีการเก็บเห็ดโคน ต้องใช้มือถอน ไม่ให้ใช้มีด จอบ หรือไม้ปลายแหลมที่อาจไปทำลายสวนเห็ดรา (fungus garden) ของปลวกซึ่งเป็นจุดกำเนิดที่ทำให้เห็ดโคนเกิดขึ้นมาได้ และเพื่อป้องกันไม่ให้รบกวนช่องรูพรุนๆ ภายในสวนเห็ดราหรือโนดูล (nodule) ที่อยู่ในรังปลวก และเวลาเด็ดเห็ดโคนไปก็ให้เด็ดให้เหลือก้านติดอยู่ที่เดิม ไม่ให้ถอนส่วนที่เป็นสวนเห็ดราออกมาด้วย"

เห็ดโคนจึงจัดว่าเป็นเห็ดที่นิยมบริโภคถึงแม้ว่าจะมีราคาแพง แต่ก็มีหลายหน่วยงานที่จะทดลอง วิจัยเพาะพันธ์ผสมสูตรอาหารทางเคมีและเทคนิควิธีมากมาย ในการเพาะพันธ์เห็ดโคน แต่ก็ยังไม่สามารถประสบความสำเร็จจนถึงการเพาะเป็นอาชีพได้
ประโยชน์ของเชื้อเห็ดโคนป่าจากจาวปลวก (fungus garden) ที่มีต่อเกษตรกรและชุมชน
๑.ใช้สำหรับย่อยสลายฟางข้าวในแปลงนา จุลินทรีย์เชื้อเห็ดโคนป่ามีความสามารถในการย่อยสลาย
เซลลูโลสในเนื้อไม้ได้ดี เมื่อเรานำมาย่อยสลายฟางข้าวจะทำให้ฟางข้าวย่อยสลายอย่างรวดเร็ว
เกษตรกรจะได้ไม่ต้องเผาฟางข้าวก่อนที่จะเตรียมแปลงนา ทำให้ดินในแปลงนามีอินทรียวัตถุ
เพิ่มมากขึ้น ดินจะมีธาตุอาหารมากขึ้นทำให้ลดต้นทุนในการผลิตได้เป็นอย่างมาก
๒.ใช้ช่วยเพิ่มธาตุฟอสฟอรัส (P) เป็นธาตุที่พืชต้องการน้อยกว่าไนโตรเจน เมื่อพืชได้รับ
ฟอสฟอรัสเพียงพอ รากจะแข็งแรง ทนทานต่อการรบกวนของโรคแมลง ทำให้พืชออกดอก
ติดผล และมีคุณภาพดี จุลินทรีย์เชื้อเห็ดโคนป่า มีจุลินทรีย์ที่สามารถตรึงธาตุฟอสฟอรัสจากดิน
มาเลี้ยงพืชได้ ทำให้ชาวนาสามารถลดรายจ่ายในการใช้ปุ๋ยเคมีในนาข้าวได้มาก
๓.ใช้เป็นแหล่งอาหารของครอบครัวโดยนำเชื้อจุลินทรีย์เชื้อเห็ดโคนป่า ไปราดบริเวณโคนต้นไม้ที่
มีปลวกอาศัยอยู่เมื่ออากาศร้อนชื้นเหมาะสมก็จะเห็นเห็ดโคนป่าขึ้น สามารถนำไปเป็นอาหาร
และนำไปขายเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัวได้อีกทาง
๔.ใช้ในการสร้างแรงจูงใจในการปลูกป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่างในพื้นที่ของตนเองเพื่อให้มี
พื้นที่สำหรับเป็นแหล่งอาหารของตนเอง โดยเฉพาะเห็ดโคนป่าที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ
จะสามารถทำให้อนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมของชุมชนได้เป็นอย่างดี
๕. ใช้สำหรับย่อยสลายสมุนไพรในการทำน้ำหมักสมุนไพรป้องกันแมลงศัตรูพืช เชื้อจุลินทรีย์
เชื้อเห็ดโคนป่าสามารถย่อยสลายพืชสมุนไพรได้อย่างรวดเร็ว สามารถลดการใช้ส
đang được dịch, vui lòng đợi..
 
Các ngôn ngữ khác
Hỗ trợ công cụ dịch thuật: Albania, Amharic, Anh, Armenia, Azerbaijan, Ba Lan, Ba Tư, Bantu, Basque, Belarus, Bengal, Bosnia, Bulgaria, Bồ Đào Nha, Catalan, Cebuano, Chichewa, Corsi, Creole (Haiti), Croatia, Do Thái, Estonia, Filipino, Frisia, Gael Scotland, Galicia, George, Gujarat, Hausa, Hawaii, Hindi, Hmong, Hungary, Hy Lạp, Hà Lan, Hà Lan (Nam Phi), Hàn, Iceland, Igbo, Ireland, Java, Kannada, Kazakh, Khmer, Kinyarwanda, Klingon, Kurd, Kyrgyz, Latinh, Latvia, Litva, Luxembourg, Lào, Macedonia, Malagasy, Malayalam, Malta, Maori, Marathi, Myanmar, Mã Lai, Mông Cổ, Na Uy, Nepal, Nga, Nhật, Odia (Oriya), Pashto, Pháp, Phát hiện ngôn ngữ, Phần Lan, Punjab, Quốc tế ngữ, Rumani, Samoa, Serbia, Sesotho, Shona, Sindhi, Sinhala, Slovak, Slovenia, Somali, Sunda, Swahili, Séc, Tajik, Tamil, Tatar, Telugu, Thái, Thổ Nhĩ Kỳ, Thụy Điển, Tiếng Indonesia, Tiếng Ý, Trung, Trung (Phồn thể), Turkmen, Tây Ban Nha, Ukraina, Urdu, Uyghur, Uzbek, Việt, Xứ Wales, Yiddish, Yoruba, Zulu, Đan Mạch, Đức, Ả Rập, dịch ngôn ngữ.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: