ศาสตร์เกษตรดินปุ๋ยSartKasetDinPui : ข้อมูล เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม  dịch - ศาสตร์เกษตรดินปุ๋ยSartKasetDinPui : ข้อมูล เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม  Việt làm thế nào để nói

ศาสตร์เกษตรดินปุ๋ยSartKasetDinPui :

ศาสตร์เกษตรดินปุ๋ย
SartKasetDinPui : ข้อมูล เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม เกษตร ดิน น้ำ ปุ๋ย
Blog Stat
ข้อคิดความเห็น
ติดต่อบริการ
ผมเองครับ
เรื่องล่าสุด
Tag Archives: ด้วงสาคู

เลี้ยง’ด้วงสาคู’ในกะละมังรายได้งาม
By SoClaimon on กันยายน 27, 2012 | ใส่ความเห็น
เลี้ยง’ด้วงสาคู’ในกะละมังรายได้งาม



1
2

เลี้ยง’ด้วงสาคู’ในกะละมังรายได้งาม

เลี้ยง ‘ด้วงสาคู’ ในกะละมัง อาชีพเสริมสร้างรายได้งาม : โดย…ธรณิศวร์ พิรุณละออง

“ด้วงสาคู” จัดว่าเป็นสัตว์เศรษฐกิจอีกชนิดหนึ่ง ที่มีผู้เพาะเลี้ยงเพื่อการพาณิชย์เป็นจำนวนมาก มีทั้งยึดเป็นอาชีพหลัก และอาชีพเสริม เนื่องจากด้วงสาคู หรือแมงหวังนั้น จำหน่ายในราคาสูง อยู่ที่กิโลกรัมละ 250-300 บาท สร้างเม็ดเงินให้แก่ผู้เพาะเลี้ยงได้เป็นอย่างดี จนบางรายจากที่เลี้ยงเป็นอาชีพเสริมก็ยึดเป็นอาชีพหลัก อย่าง “สังวรณ์ มะลิวรรณ” วัย 48 ปี เกษตรกรชาวสวนยางพาราบ้านหูแร่ ต.ทุ่งตำเสา อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา ที่ผ่านการลองผิดลองถูกหลายครั้ง จนลงเอยด้วยการเลี้ยงในกะละมังพลาสติกสร้างรายได้เสริมอย่างงาม

“สังวรณ์” เล่าย้อนอดีตว่า ก่อนที่จะหันหน้ามาเพาะเลี้ยงด้วงสาคูเป็นอาชีพเสริมนั้น เมื่อประมาณ 3 ปีเศษที่ผ่านมา ได้รับความรู้การเพาะเลี้ยงด้วงสาคูจากการรับชมรายการทางโทรทัศน์ จากนั้นก็เริ่มสนใจและทดลองเลี้ยงดู โดยเริ่มลงทุนหาซื้อพ่อแม่พันธุ์ด้วงสาคู หรือที่ชาวบ้านในพื้นที่เรียกว่า “แมงหวัง” มาจาก อ.หัวไทร จ.นครศรีธรรมราช ในราคาตัวละ 3 บาท ประมาณ 1,000 ตัว

“หลังจากได้พ่อแม่พันธุ์ด้วงสาคูมาแล้ว ผมก็นำมาปล่อยเลี้ยงกับต้นสาคูที่ตัดเป็นท่อนๆ ที่นำมาวางเรียงไว้ก่อนหน้านั้น แต่ต้องประสบปัญหาเรื่องความชื้นในต้นสาคูค่อนข้างสูง สภาพอากาศ ความชื้น ไม่เหมาะสมกับการเจริญเติบโต อีกทั้งผมยังเป็นผู้เลี้ยงมือใหม่ ทำให้ผลผลิตตัวอ่อนของด้วงไม่เป็นไปตามที่คาดหวังไว้” สังวรณ์ เล่า

พร้อมยอมรับว่า ต่อจากนั้นก็ลองผิดลองถูกวิธีการเพาะเลี้ยงหลายครั้ง แต่ก็ไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร กระทั่งมาลงเอยที่การเพาะเลี้ยงด้วงด้วย กะละมังพลาสติก ที่นำวางเรียงไว้ในโรงเพาะเลี้ยง ซึ่งระยะแรกเลี้ยงด้วยการใช้ทางปาล์มน้ำมันมาบดใส่กะละมังแล้วปล่อยพ่อแม่พันธุ์ด้วงสาคูลงไป แต่ปรากฏว่าให้ผลผลิตตัวอ่อนไม่เป็นที่น่าพอใจนัก อีกทั้งรสชาติความอร่อยสู้ตัวอ่อนด้วงที่เลี้ยงด้วยต้นสาคูไม่ได้ เพราะมีรสชาติอร่อย หอม หวาน มัน และมีโปรตีนสูงกว่า

ในที่สุดจึงหันมาเลี้ยงด้วย ต้นสาคู ที่หาซื้อมาจากละแวกใกล้บ้านในราคาต้นละ 200 บาท มาบดผสมกับอาหารหมู เพื่อให้เติบโตเร็วขึ้น ใส่น้ำลงไปผสมส่วนหนึ่งเพื่อเพิ่มความชื้น จากนั้นตักใส่กะละมัง ก่อนปล่อยพ่อแม่พันธุ์ด้วงสาคูกะละมังละ 10 ตัว รอประมาณ 1 เดือน ก็จะสามารถเก็บตัวอ่อนออกจำหน่ายได้

“ช่วงที่กำลังเลี้ยงต้องคอยดูเรื่องความชื้นในกะละมังให้เหมาะสมอยู่ตลอด เพราะความชื้นเป็นตัวแปรที่จะทำให้ตัวอ่อนเติบโตเร็ว ที่สำคัญเปอร์เซ็นต์การรอดตายของตัวอ่อนด้วงอยู่ที่ 100 เปอร์เซ็นต์เต็ม และหากอาหารในกะละมังเริ่มแห้งก็คอยฉีดพรมน้ำเพิ่มความชื้นให้ ซึ่งทุกวันนี้แม้การเลี้ยงด้วงจะเป็นอาชีพเสริม แต่ก็สร้างรายได้เข้าครอบครัวได้เป็นอย่างดี ไม่แพ้รายได้จากการทำสวนยางพารา”

สังวรณ์ บอกอีกว่า ตอนนี้มีด้วงสาคูที่เพาะเลี้ยงอยู่ประมาณ 500 กะละมัง ในอนาคตคาดว่าจะขยับขยายการเลี้ยงเพิ่มขึ้น จนคิดไว้ว่าจะยึดเป็นอาชีพหลักด้วย เนื่องจากสร้างรายได้ดีมาก ซึ่งจำหน่ายอยู่ที่กิโลกรัมละ 250 บาท และลูกค้าส่วนใหญ่ก็จะเป็นลูกค้าทั่วไปที่ชอบบริโภค บางครั้งก็จะมีพ่อค้าแม่ค้ามารับซื้อไปจำหน่ายต่อก็มี ส่วนกากอาหารด้วงในกะละมัง หลังจากเก็บตัวอ่อนไปจำหน่ายแล้ว จะไม่นำไปทิ้งให้เสียของ โดยจะนำมากองเก็บไว้เพื่อทำเป็นปุ๋ยหมักนำไปใส่ต้นไม้ เรียกว่านำมาใช้ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด

สำหรับท่านใดที่สนใจอยากจะปรึกษาเรื่องการเพาะเลี้ยงด้วงสาคูในแบบฉบับของ “สังวรณ์ มะลิวรรณ” รวมถึงต้องการซื้อตัวอ่อนด้วงสาคู สามารถติดต่อได้ที่ 149/4 หมู่ 3 บ้านหูแร่ ต.ทุ่งตำเสา อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา หรือโทรศัพท์สอบถามที่หมายเลข 08-0035-0204 ซึ่งสังวรณ์บอกยินดีให้ความรู้แก่ทุกคน

——————–

(เลี้ยง ‘ด้วงสาคู’ ในกะละมัง อาชีพเสริมสร้างรายได้งาม : โดย…ธรณิศวร์ พิรุณละออง)

Share this:
TwitterFacebookLinkedInRedditGoogleTumblrEmailPinterestPocketPrint

Posted in: คมชัดลึก, เกษตร_ | Tagged: agriculture, คมชัดลึก, ด้วงสาคู, เกษตร, komchadluek
ด้วงงวงมะพร้าวหรือด้วงสาคู จากอาหารสัตว์เป็นสุดยอดเมนูเปิบคน
By SoClaimon on ธันวาคม 1, 2010 | 1 ความเห็น
2 พฤศจิกายน 2553, 05:00 น.

ผ่านทางด้วงงวงมะพร้าวหรือด้วงสาคู จากอาหารสัตว์เป็นสุดยอดเมนูเปิบคน – ข่าวไทยรัฐออนไลน์.

Pic_123516



ด้วงงวงมะพร้าว หรือที่ทางภาคใต้เรียกว่า ด้วงสาคู.

“ด้วงงวงมะพร้าว” (Pin-hole borers) ในแถบภาคใต้มักจะพบอาศัยแพร่กระจายเผ่าพันธุ์ อยู่ตาม “ต้นสาคู” ผู้คนถิ่นนี้จึงต่างเรียกขานมันว่า “ด้วงสาคู” อดีตที่ผ่านมานั้น ชาวบ้านมักนำมาเป็นอาหารเลี้ยงสัตว์ปีกเพื่อลดต้นทุน

กระทั่งนักเปิบเริ่มหันมาให้ความสนใจ เนื่องจาก พบว่าในตัวมันเองมีคุณค่าทางอาหารโดยเฉพาะ “โปรตีน” ค่อนข้างสูง ส่งผลให้ ทุกวันนี้เราจึงมักจะเห็น “หนอนไม้” ชนิดดังกล่าว ขึ้นไป “นอนตัวกลม” อยู่บนแผง “รถขายแมลงทอด” ที่วิ่งอยู่ทุกหัวตลาดทั้ง กทม.และต่างจังหวัด ซึ่งสนน ราคาซื้อขายตัวเป็นๆ ตกอยู่ที่กิโลฯละถึง 250 บาท

นายอรรถ อินทลักษณ์ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร บอกกับ “หลายชีวิต” ว่า….เพื่อเป็นการเพิ่มอาชีพที่ลงทุนไม่สูงมากนัก กลุ่มส่งเสริมการเลี้ยงผึ้งและแมลงเศรษฐกิจ ส่วนส่งเสริมสินค้าเกษตร สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร จึงได้ส่งเสริมให้เกษตรกรที่สนใจเลี้ยงเพื่อเป็นรายได้ เสริม ซึ่งแหล่งธรรมชาติที่ด้วงชนิดนี้ชื่นชอบฝังตัวอยู่ ก็คือ ตามต้นมะพร้าวหรือต้นสาคู แต่ถ้าเลี้ยงเชิงพาณิชย์ เพื่อป้อนขายให้กับบรรดาพ่อค้ารถแมลงทอดนั้น

…จากการเพาะเลี้ยงในห้องทดลองพบว่า อาหารที่ด้วงชอบและทำให้การเจริญเติบโตได้ดี ทำให้มีน้ำหนักเพิ่มมากกว่าอาหารชนิด อื่น คือ ขุย กากมะพร้าว รำข้าว และ มันสำปะหลัง ผสมกันในอัตราส่วน 1 : 1 : 1 : 1 แล้วปล่อยพ่อแม่พันธุ์อัตราตัวผู้ 1 : ตัวเมีย 10 ตัว หลังจับคู่อยู่ร่วมกันประมาณ 10 วัน ตัวเมียจะเริ่มวางไข่ จากนั้นอีก 2-3 วัน จึงฟักเป็นตัวอ่อน แล้วเลี้ยงต่ออีก 1-2 เ
0/5000
Từ: -
Sang: -
Kết quả (Việt) 1: [Sao chép]
Sao chép!
ศาสตร์เกษตรดินปุ๋ยSartKasetDinPui : ข้อมูล เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม เกษตร ดิน น้ำ ปุ๋ยBlog Statข้อคิดความเห็นติดต่อบริการผมเองครับเรื่องล่าสุดTag Archives: ด้วงสาคูเลี้ยง’ด้วงสาคู’ในกะละมังรายได้งามBy SoClaimon on กันยายน 27, 2012 | ใส่ความเห็นเลี้ยง’ด้วงสาคู’ในกะละมังรายได้งาม12เลี้ยง’ด้วงสาคู’ในกะละมังรายได้งามเลี้ยง ‘ด้วงสาคู’ ในกะละมัง อาชีพเสริมสร้างรายได้งาม : โดย…ธรณิศวร์ พิรุณละออง "Sago grub" là một loại của nền kinh tế là động vật có nhiều thương mại nông nghiệp. Với cả hai chính và bổ sung ngành nghề ngày nghề nghiệp, vì grub bột trứng sam hoặc tôi. Giá cao có 250-300 kg việc tạo ra các hạt nông nghiệp cũng như một số từ các bên, cho đến khi sự chiếm đóng là nghề nghiệp chính vào bổ sung. Ví dụ "của Mali Wan", tuổi 48 tuổi, nông dân, gỗ nông dân nhà tai khoáng sản. TAM Sao, a. t. gạo Hat Tỉnh Songkhla thông qua thử và lỗi cho đến khi bạn đã kết thúc với một số thời gian, tăng thêm thu nhập tạo ra hoặc trong nhựa may kalamang.“สังวรณ์” เล่าย้อนอดีตว่า ก่อนที่จะหันหน้ามาเพาะเลี้ยงด้วงสาคูเป็นอาชีพเสริมนั้น เมื่อประมาณ 3 ปีเศษที่ผ่านมา ได้รับความรู้การเพาะเลี้ยงด้วงสาคูจากการรับชมรายการทางโทรทัศน์ จากนั้นก็เริ่มสนใจและทดลองเลี้ยงดู โดยเริ่มลงทุนหาซื้อพ่อแม่พันธุ์ด้วงสาคู หรือที่ชาวบ้านในพื้นที่เรียกว่า “แมงหวัง” มาจาก อ.หัวไทร จ.นครศรีธรรมราช ในราคาตัวละ 3 บาท ประมาณ 1,000 ตัว“หลังจากได้พ่อแม่พันธุ์ด้วงสาคูมาแล้ว ผมก็นำมาปล่อยเลี้ยงกับต้นสาคูที่ตัดเป็นท่อนๆ ที่นำมาวางเรียงไว้ก่อนหน้านั้น แต่ต้องประสบปัญหาเรื่องความชื้นในต้นสาคูค่อนข้างสูง สภาพอากาศ ความชื้น ไม่เหมาะสมกับการเจริญเติบโต อีกทั้งผมยังเป็นผู้เลี้ยงมือใหม่ ทำให้ผลผลิตตัวอ่อนของด้วงไม่เป็นไปตามที่คาดหวังไว้” สังวรณ์ เล่าพร้อมยอมรับว่า ต่อจากนั้นก็ลองผิดลองถูกวิธีการเพาะเลี้ยงหลายครั้ง แต่ก็ไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร กระทั่งมาลงเอยที่การเพาะเลี้ยงด้วงด้วย กะละมังพลาสติก ที่นำวางเรียงไว้ในโรงเพาะเลี้ยง ซึ่งระยะแรกเลี้ยงด้วยการใช้ทางปาล์มน้ำมันมาบดใส่กะละมังแล้วปล่อยพ่อแม่พันธุ์ด้วงสาคูลงไป แต่ปรากฏว่าให้ผลผลิตตัวอ่อนไม่เป็นที่น่าพอใจนัก อีกทั้งรสชาติความอร่อยสู้ตัวอ่อนด้วงที่เลี้ยงด้วยต้นสาคูไม่ได้ เพราะมีรสชาติอร่อย หอม หวาน มัน และมีโปรตีนสูงกว่าในที่สุดจึงหันมาเลี้ยงด้วย ต้นสาคู ที่หาซื้อมาจากละแวกใกล้บ้านในราคาต้นละ 200 บาท มาบดผสมกับอาหารหมู เพื่อให้เติบโตเร็วขึ้น ใส่น้ำลงไปผสมส่วนหนึ่งเพื่อเพิ่มความชื้น จากนั้นตักใส่กะละมัง ก่อนปล่อยพ่อแม่พันธุ์ด้วงสาคูกะละมังละ 10 ตัว รอประมาณ 1 เดือน ก็จะสามารถเก็บตัวอ่อนออกจำหน่ายได้
“ช่วงที่กำลังเลี้ยงต้องคอยดูเรื่องความชื้นในกะละมังให้เหมาะสมอยู่ตลอด เพราะความชื้นเป็นตัวแปรที่จะทำให้ตัวอ่อนเติบโตเร็ว ที่สำคัญเปอร์เซ็นต์การรอดตายของตัวอ่อนด้วงอยู่ที่ 100 เปอร์เซ็นต์เต็ม และหากอาหารในกะละมังเริ่มแห้งก็คอยฉีดพรมน้ำเพิ่มความชื้นให้ ซึ่งทุกวันนี้แม้การเลี้ยงด้วงจะเป็นอาชีพเสริม แต่ก็สร้างรายได้เข้าครอบครัวได้เป็นอย่างดี ไม่แพ้รายได้จากการทำสวนยางพารา”

สังวรณ์ บอกอีกว่า ตอนนี้มีด้วงสาคูที่เพาะเลี้ยงอยู่ประมาณ 500 กะละมัง ในอนาคตคาดว่าจะขยับขยายการเลี้ยงเพิ่มขึ้น จนคิดไว้ว่าจะยึดเป็นอาชีพหลักด้วย เนื่องจากสร้างรายได้ดีมาก ซึ่งจำหน่ายอยู่ที่กิโลกรัมละ 250 บาท และลูกค้าส่วนใหญ่ก็จะเป็นลูกค้าทั่วไปที่ชอบบริโภค บางครั้งก็จะมีพ่อค้าแม่ค้ามารับซื้อไปจำหน่ายต่อก็มี ส่วนกากอาหารด้วงในกะละมัง หลังจากเก็บตัวอ่อนไปจำหน่ายแล้ว จะไม่นำไปทิ้งให้เสียของ โดยจะนำมากองเก็บไว้เพื่อทำเป็นปุ๋ยหมักนำไปใส่ต้นไม้ เรียกว่านำมาใช้ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด

สำหรับท่านใดที่สนใจอยากจะปรึกษาเรื่องการเพาะเลี้ยงด้วงสาคูในแบบฉบับของ “สังวรณ์ มะลิวรรณ” รวมถึงต้องการซื้อตัวอ่อนด้วงสาคู สามารถติดต่อได้ที่ 149/4 หมู่ 3 บ้านหูแร่ ต.ทุ่งตำเสา อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา หรือโทรศัพท์สอบถามที่หมายเลข 08-0035-0204 ซึ่งสังวรณ์บอกยินดีให้ความรู้แก่ทุกคน

——————–

(เลี้ยง ‘ด้วงสาคู’ ในกะละมัง อาชีพเสริมสร้างรายได้งาม : โดย…ธรณิศวร์ พิรุณละออง)

Share this:
TwitterFacebookLinkedInRedditGoogleTumblrEmailPinterestPocketPrint

Posted in: คมชัดลึก, เกษตร_ | Tagged: agriculture, คมชัดลึก, ด้วงสาคู, เกษตร, komchadluek
ด้วงงวงมะพร้าวหรือด้วงสาคู จากอาหารสัตว์เป็นสุดยอดเมนูเปิบคน
By SoClaimon on ธันวาคม 1, 2010 | 1 ความเห็น
2 พฤศจิกายน 2553, 05:00 น.

ผ่านทางด้วงงวงมะพร้าวหรือด้วงสาคู จากอาหารสัตว์เป็นสุดยอดเมนูเปิบคน – ข่าวไทยรัฐออนไลน์.

Pic_123516



ด้วงงวงมะพร้าว หรือที่ทางภาคใต้เรียกว่า ด้วงสาคู.

“ด้วงงวงมะพร้าว” (Pin-hole borers) ในแถบภาคใต้มักจะพบอาศัยแพร่กระจายเผ่าพันธุ์ อยู่ตาม “ต้นสาคู” ผู้คนถิ่นนี้จึงต่างเรียกขานมันว่า “ด้วงสาคู” อดีตที่ผ่านมานั้น ชาวบ้านมักนำมาเป็นอาหารเลี้ยงสัตว์ปีกเพื่อลดต้นทุน

กระทั่งนักเปิบเริ่มหันมาให้ความสนใจ เนื่องจาก พบว่าในตัวมันเองมีคุณค่าทางอาหารโดยเฉพาะ “โปรตีน” ค่อนข้างสูง ส่งผลให้ ทุกวันนี้เราจึงมักจะเห็น “หนอนไม้” ชนิดดังกล่าว ขึ้นไป “นอนตัวกลม” อยู่บนแผง “รถขายแมลงทอด” ที่วิ่งอยู่ทุกหัวตลาดทั้ง กทม.และต่างจังหวัด ซึ่งสนน ราคาซื้อขายตัวเป็นๆ ตกอยู่ที่กิโลฯละถึง 250 บาท

นายอรรถ อินทลักษณ์ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร บอกกับ “หลายชีวิต” ว่า….เพื่อเป็นการเพิ่มอาชีพที่ลงทุนไม่สูงมากนัก กลุ่มส่งเสริมการเลี้ยงผึ้งและแมลงเศรษฐกิจ ส่วนส่งเสริมสินค้าเกษตร สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร จึงได้ส่งเสริมให้เกษตรกรที่สนใจเลี้ยงเพื่อเป็นรายได้ เสริม ซึ่งแหล่งธรรมชาติที่ด้วงชนิดนี้ชื่นชอบฝังตัวอยู่ ก็คือ ตามต้นมะพร้าวหรือต้นสาคู แต่ถ้าเลี้ยงเชิงพาณิชย์ เพื่อป้อนขายให้กับบรรดาพ่อค้ารถแมลงทอดนั้น

…จากการเพาะเลี้ยงในห้องทดลองพบว่า อาหารที่ด้วงชอบและทำให้การเจริญเติบโตได้ดี ทำให้มีน้ำหนักเพิ่มมากกว่าอาหารชนิด อื่น คือ ขุย กากมะพร้าว รำข้าว และ มันสำปะหลัง ผสมกันในอัตราส่วน 1 : 1 : 1 : 1 แล้วปล่อยพ่อแม่พันธุ์อัตราตัวผู้ 1 : ตัวเมีย 10 ตัว หลังจับคู่อยู่ร่วมกันประมาณ 10 วัน ตัวเมียจะเริ่มวางไข่ จากนั้นอีก 2-3 วัน จึงฟักเป็นตัวอ่อน แล้วเลี้ยงต่ออีก 1-2 เ
đang được dịch, vui lòng đợi..
 
Các ngôn ngữ khác
Hỗ trợ công cụ dịch thuật: Albania, Amharic, Anh, Armenia, Azerbaijan, Ba Lan, Ba Tư, Bantu, Basque, Belarus, Bengal, Bosnia, Bulgaria, Bồ Đào Nha, Catalan, Cebuano, Chichewa, Corsi, Creole (Haiti), Croatia, Do Thái, Estonia, Filipino, Frisia, Gael Scotland, Galicia, George, Gujarat, Hausa, Hawaii, Hindi, Hmong, Hungary, Hy Lạp, Hà Lan, Hà Lan (Nam Phi), Hàn, Iceland, Igbo, Ireland, Java, Kannada, Kazakh, Khmer, Kinyarwanda, Klingon, Kurd, Kyrgyz, Latinh, Latvia, Litva, Luxembourg, Lào, Macedonia, Malagasy, Malayalam, Malta, Maori, Marathi, Myanmar, Mã Lai, Mông Cổ, Na Uy, Nepal, Nga, Nhật, Odia (Oriya), Pashto, Pháp, Phát hiện ngôn ngữ, Phần Lan, Punjab, Quốc tế ngữ, Rumani, Samoa, Serbia, Sesotho, Shona, Sindhi, Sinhala, Slovak, Slovenia, Somali, Sunda, Swahili, Séc, Tajik, Tamil, Tatar, Telugu, Thái, Thổ Nhĩ Kỳ, Thụy Điển, Tiếng Indonesia, Tiếng Ý, Trung, Trung (Phồn thể), Turkmen, Tây Ban Nha, Ukraina, Urdu, Uyghur, Uzbek, Việt, Xứ Wales, Yiddish, Yoruba, Zulu, Đan Mạch, Đức, Ả Rập, dịch ngôn ngữ.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: