มะพร้าวกะทิ เป็นมะพร้าวที่ผลมีเนื้อหนา ฟู อ่อนนิ่ม รสหวานมันอร่อย เป็น dịch - มะพร้าวกะทิ เป็นมะพร้าวที่ผลมีเนื้อหนา ฟู อ่อนนิ่ม รสหวานมันอร่อย เป็น Việt làm thế nào để nói

มะพร้าวกะทิ เป็นมะพร้าวที่ผลมีเนื้อ

มะพร้าวกะทิ เป็นมะพร้าวที่ผลมีเนื้อหนา ฟู อ่อนนิ่ม รสหวานมันอร่อย เป็นที่นิยมบริโภค โดยทั่วไปจะพบมะพร้าวกะทิเกิดร่วมกับมะพร้าวผลปกติในต้นมะพร้าวธรรมดาบางต้นเท่านั้น ปริมาณที่พบมีน้อย และหายาก จึงทำให้มะพร้าวกะทิมีราคาแพง ประมาณผลละ 30-50 บาท แพงกว่ามะพร้าวธรรมดา 5-10 เท่า

ลักษณะเนื้อมะพร้าวกะทิ

เนื้อมะพร้าวกะทิ จะแตกต่างจากเนื้อมะพร้าวธรรมดา ทั้งนี้เนื่องจากคาร์โบไฮเดรตชนิดหนึ่งที่ละลายน้ำได้ที่เรียกว่ากาแลคโตแมนนัน (Galactomannan) ซึ่งเป็นส่วนประกอบของเนื้อมะพร้าวธรรมดา ถูกเอนไซม์ชนิดหนึ่งที่เรียกว่า แอลฟ่า-ดี-กาแลคโตซิเดส เปลี่ยนกาแลคโตแมนนัน เป็นคาร์โบไฮเดรตอีกชนิดหนึ่งที่เรียกว่า แมนนัน (Mannan) ซึ่งสามารถละลายน้ำได้แต่ในมะพร้าวกะทิไม่มีเอนไซม์ตัวนี้ ทำให้กาแลคโตแมนนัน ซึ่งมีลักษณะนิ่มคล้ายวุ้นยังคงลักษณะเดิม แทนที่จะเปลี่ยนเป็นเนื้อมะพร้าวธรรมดา

เนื้อมะพร้าวกะทิที่พบจะแบ่งได้ 3 แบบ คือ

1. เนื้อหนาเล็กน้อย และนุ่มเล็กน้อย (นุ่มคล้ายข้าวสุก) น้ำข้นเล็กน้อย

2. เนื้อหนาปานกลาง และนุ่มปานกลาง

3. เนื้อหนามาก และฟูเต็มกะลา

การจำแนกลักษณะเนื้อมะพร้าวกะทิ ดังกล่าวข้างต้นอาศัยจากประสบการณ์ทางสายตา

แหล่งมะพร้าวกะทิในธรรมชาติ

พบมะพร้าวกะทิกระจายทั่วไปในประเทศที่ปลูกมะพร้าวที่สำคัญของโลกและมีชื่อเรียกเฉพาะถิ่นที่ปลูกมะพร้าวกะทิ นอกจากประเทศไทยแล้ว ได้แก ฟิลิปปินส์ เรียกว่า มาคาปูโน (Makapuno) อินเดีย เรียกว่า ไทรุเธนไก (Thairu Thengai) อินโดนีเซีย และมาเลเซีย เรียกว่า คอร์ปิยอร์ (Korpyor) ศรีลังกา เรียกว่า ดิกิริโปล (Dikiri Pol)

ในประเทศไทยจะพบกระจายตามแหล่งปลูกที่สำคัญ ได้แก่ อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดชุมพร จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นต้น

การเกิดมะพร้าวกะทิ

ซูนิก้า (Zunica) ชาวฟิลิปปินส์ได้ทำการศึกษา โดยการควบคุมการผสมเกสรมะพร้าวต้นที่ให้ผลมะพร้าวกะทิ และมะพร้าวธรรมดา ให้ผสมตัวเอง ผลปรากฎว่าได้ผลมะพร้าวธรรมดา 3 ส่วน และมะพร้าวกะทิ 1 ส่วน จึงสรุปได้ว่าการเกิดมะพร้าวกะทิเป็นเรื่องของพันธุกรรม ลักษณะการเกิดมะพร้าวกะทิถูกควบคุมโดยยืนเพียงคู่เดียว และถ่ายทอดตามกฎของเมนเดลทุกประการ ลักษณะกะทิเป็นลักษณะด้อย ส่วนลักษณะธรรมดาเป็นลักษณะข่ม และต้นมะพร้าวที่ให้ลูกเป็นกะทิอยู่ในสภาพฮีทธีโรไซโกท (Heterozygote)หรือลักษณะที่เป็นพันธุ์ทาง เมื่อมะพร้าวธรรมดาผสมกับมะพร้าวพันธุ์ทาง จึงให้ผลผลิตออกมาเป็นมะพร้าวธรรมดา 3 ส่วน มะพร้าวกะทิ 1 ส่วน

ปัจจุบันฟิลิปปินส์ได้พบมะพร้าวต้นที่ให้ผลมีเนื้อเหมือนมะพร้าวธรรมดาไม่ฟู เมื่อเคี้ยวจะมีลักษณะนุ่มอร่อย ฟิลิปปินส์เรียกมะพร้าวพันธุ์ดังกล่าวว่า “โลโน” (Lono) ผลมะพร้าวโลโนไม่สามารถเพาะให้งอกเป็นต้นเช่นเดียวกับมะพร้าวกะทิ

การสังเกตผลมะพร้าวกะทิ

การเก็บเกี่ยวมะพร้าวจากต้นที่เป็นกะทิในทะลายหนึ่ง จะพบผลที่เป็นกะทิประมาณ 1 หรือ 2 ผล ใน 10 ผล ข้อสังเกตผลที่เป็นกะทิอายุ 11-12 เดือน เมื่อเขย่าผลจะไม่ได้ยินเสียงดอนน้ำ ถ้าเป็นมะพร้าวปกติจะได้ยินเสียงดอนน้ำ ชาวสวนมะพร้าวบางคนมีความชำนาญจากการฟังเสียง เมื่อปอกเปลือกออกเหลือแต่กะลาแล้วใช้นิ้วดีดเสียงดังจะแตกต่างกันระหว่างมะพร้าวกะทิและมะพร้าวปกติ

ปรากฏการณ์การเกิดมะพร้าวกะทิในธรรมชาติ

มะพร้าวกะทิที่พบส่วนใหญ่เกิดขึ้นในมะพร้าวกลางและมะพร้าวใหญ่ ซึ่งเป็นมะพร้าวพันธุ์ต้นสูง ที่มีช่วงการบานของดอกตัวผู้ และดอกตัวเมีย ไม่คาบเกี่ยวกันเนื่องจากต้นมะพร้าวที่ให้ผลมะพร้าวกะทิอยู่ในสภาพฮีทธีโรไซโกต(Heterozygote) หรือพันธุ์ทาง โอกาสจะเกิดมะพร้าวกะทิบางผลในมะพร้าวต้นนั้นจะเกิดขึ้นได้ใน 2 กรณี คือ

1. มะพร้าวที่ให้ผลกะทิ ปลูกอยู่เพียงต้นเดียวท่ามกลางมะพร้าวที่ให้ผลปกติ การจะเกิดมะพร้าวกะทิได้จะต้องเกิดจากการผสมเกสรระหว่างเกสรตัวเมียของจั่นพี่กับเกสรตัวผู้ของจั่นน้องภายในต้นเดียวกัน

2. มะพร้าวที่ให้ผลกะทิ ปลูกอยู่หลายต้นในบริเวณเดียวกัน หรือใกล้เคียงกัน การเกิดมะพร้าวกะทิจะเกิดจากการผสมข้ามต้น หรือผสมภายในต้นเดียวกันแต่คนละจั่น

นอกจากพบมะพร้าวกะทิ ในมะพร้าวพันธุ์ต้นสูงแล้วยังพบมะพร้าวกะทิในพันธุ์มะพร้าวน้ำหอม หรือหมูสีเขียว ซึ่งเป็นพันธุ์เตี้ย โอกาสที่จะพบมะพร้าวกะทิในมะพร้าวน้ำหอมมีน้อยมาก เพราะส่วนใหญ่จะเก็บผลอ่อนขาย จะพบได้ในกรณีที่เจ้าของสวนเก็บผลไว้ทำพันธุ์ ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น จึงเป็นแนวทางในการพัฒนาพันธุ์มะพร้าวกะทิน้ำหอมต้นเตี้ยพันธุ์แท้ต่อไป

การเพิ่มประชากรมะพร้าวกะทิ

จากปรากฏการณ์การเกิดมะพร้าวกะทิในธรรมชาติ สามารถที่จะนำความรู้ที่เกิดขึ้นนั้นมาพัฒนาเพื่อสร้างสายพันธุ์ที่ให้มะพร้าวกะทิที่มีคุณภาพ และมีปริมาณมากพอเพียงกับความต้องการของตลาดภายในประเทศ และนำไปสู่การส่งออกตลาดต่างประเทศ ทั้งในรูปเนื้อสดและแปรรูป

การเพิ่มประชากรมะพร้าวกะทิมีวิธีดำเนินการ ดังต่อไปนี้

1. เก็บผลมะพร้าวที่ผลปกติในทะลายที่มีมะพร้าวกะทิมาเพาะ เป็นวิธีที่เกษตรกรดำเนินการมาเป็นเวลานานแล้ว โอกาสที่จะได้ต้นมะพร้าวกะทิมีเพียงครึ่งเดียว

2. ควบคุมการผสมเกสรต้นมะพร้าวกะทิให้ผสมตัวเอง โดยการตัดดอกตัวผู้ไปผลิตเป็นละอองเกสรที่มีความชื้นไม่เกิน 15% เก็บในตู้เย็นช่องธรรมดาได้นาน 2 สัปดาห์ ใช้ถุงผ้าใบคลุมจั่นที่มีดอกตัวเมีย เมื่อบานก็นำละอองเกสรผสมกับแป้งดินสอพอง อัตราส่วน 1:20 ไปพ่นทุกวันจนกว่าดอกตัวเมียจะบานหมด ทิ้งไว้ 2 สัปดาห์ แล้วจึงเปิดถุงออก วิธีการนี้จะมีโอกาสได้ต้นมะพร้าวกะทิ 2 ใน 3 แต่ต้นมะพร้าวกะทิส่วนใหญ่จะสูงมาก จึงลำบากในการปีนขึ้นไปตัดดอกตัวผู้และผสมพันธุ์

3. การนำคัพภะมะพร้าวกะทิไปเพาะเลี้ยงในอาหารวิทยาศาสตร์ ในห้องปฏิบัติการสภาพปลอดเชื้อ บุคคลที่เป็นผู้ริเริ่มดำเนินการ จนเป็นผลสำเร็จเป็นคนแรกคือ ดร. เดอ กูซแมน (Dr.de Guzman) อาจารย์มหาวิทยาลัยฟิลิปปินส์แห่งลอส บันยอส (Los Banos)เมื่อปี 2503 และในปี 2533 ทีมงานของศูนย์วิจัยฟิลิปปินส์ได้พัฒนาการเพาะเลี้ยงคัพภะมะพร้าวกะทิจำหน่ายให้เกษตรกรปลูกเป็นการค้า ต้นมะพร้าวกะทิที่ได้มะพร้าวกะทิพันธุ์แท้แต่เนื่องจากประเทศฟิลิปปินส์ ปลูกมะพร้าวพันธุ์ปกติอยู่ทั่วไป จึงหาที่ปลอดจากมะพร้าวพันธุ์อื่นได้ยาก การปลูกมะพร้าวกะทิใกล้กับมะพร้าวพันธุ์ปกติ ทำให้ผลผลิตที่ได้จะเป็นกะ
0/5000
Từ: -
Sang: -
Kết quả (Việt) 1: [Sao chép]
Sao chép!
Dừa sữa dừa dừa thịt là dày với hiệu ứng ánh sáng mềm & ngon ngọt khoai tây là phổ biến với người tiêu dùng. Nói chung, sẽ tìm thấy dừa sữa dừa kết hợp với kết quả bình thường xảy ra ở đồng bằng dừa bang chỉ. Số lượng loài này là hiếm và do đó làm cho sữa dừa là tốn kém. Khoảng 30-50 baht mỗi dẫn đến hơi cao hơn bình thường dừa 5 - 10 lần.Dừa bột giấy phong cách.Dừa thịt và sữa dừa là khác nhau từ thịt dừa bình thường, điều này là bởi vì một trong các carbohydrate hòa tan gọi là galare khato người đàn ông Tainan. (Galactomannan) là một thành phần của một loại bột giấy là một enzyme tự nhiên được gọi là l Alfa-d-galare khato khách sạn. Người đàn ông thay đổi Tainan khato galare carbohydrate là một loại, được gọi là người đàn ông Tainan (Mannan), mà có thể được hòa tan, nhưng sữa dừa enzyme này không làm cho người đàn ông Tainan khato galare, trông tương tự như phong cách cũ vẫn là 100% mềm. Thay vì một bột giấy thông thường.Sữa dừa, dừa thịt tìm thấy được chia là 3.1. dày cơ thể một chút và hơi mềm (mềm như cơm) một ngưng tụ hơi nước.2. một thịt mềm, Trung bình, Trung bình và dày.3. thịt là vỏ rất dày đặc và Trăng tròn.Các đặc tính của bột giấy tại helm trên những kinh nghiệm thị giác.Dừa nguồn trong tự nhiên.Dừa nằm rải rác trên khắp đất nước, quan trọng nhất của thế giới và đồn điền dừa đã phát triển đặc hữu, dừa và sữa dừa. Ngoài nội địa Thái và có Grand khách sạn Hà Nội, Việt Nam, cũng được gọi là Ấn Độ Pu (Makapuno) gọi là Tai-Wi-Fi sau đó CAI (Thengai Thairu) Indonesia và Malaysia. Cũng được gọi là khopiyo (Korpyor), Sri Lanka, được gọi là các dịch vụ, Aviv (Pol Dikiri)Nội địa Thái sẽ tìm thấy phân phối bởi thiếu tá giống bao gồm các huyện Thap Sakae, prachuap khiri Khan, Chumphon, tỉnh Surat Thani và Nakhon SI thammarat tỉnh của tỉnh Samut Songkhram, vv.Sự xuất hiện của dừa và sữa dừa.Tiếng Philipin su-Baga (Zunica) đã được nghiên cứu bằng cách trộn điều khiển dừa dừa cây, gaysorn và đồng bằng dừa, trộn chính mình. Chỉ ra rằng kết quả càng nhanh càng thường xuyên sữa dừa, dừa, và bộ phận 1 phần 3 do đó sự xuất hiện của sữa dừa là một vấn đề của di truyền. Tính năng dừa sữa có chỉ một cặp của là viết tắt, được điều khiển bởi, và live theo các quy tắc của các tên miền được tất cả Cập Nhật. Dừa phong cách là phong cách xấu. Tốt nhất các tính năng của phong cách của ông là đồng bằng, và cây dừa, những quả bóng là tại helm trong hitthi tăng Simon dê. (Heterozygote) hoặc là giống cây trồng. Khi bột giấy thông thường pha trộn với dừa cây đường dẫn, đầu ra như là đồng bằng dừa sữa dừa 1 phần 3 phần.Hiện nay, Philippin đã tìm thấy rằng có những lợi ích của thịt dừa, dừa-giống như bề mặt là phú. Khi ngon mềm nhai Việt Nam gọi là dừa giống như "Little Saigon" (Lono), kết quả có thể không có một sòng bạc văn hóa walo lưỡi hái Ma, mầm, vv, cũng như dừa và sữa dừa.Quan sát có hiệu lực, dừa và sữa dừa.Dừa các thu hoạch từ một dừa trong sự sụp đổ. Kết quả là, bạn sẽ kathipraman 1 hoặc 2 quả trong 10 kết quả tại helm thông báo ở tuổi 11-12 tháng khi hiệu quả lắc sẽ không còn nghe thấy sông Đông. Nếu dừa là thường nghe nói Don waters. Dừa nông dân một số người với chuyên môn từ những âm thanh Khi bạn lột ra khỏi vỏ nhưng các ngón tay ngón tay tiếng ồn sẽ khác nhau giữa thường xuyên sữa dừa và dừa.Hiện tượng xảy ra trong thiên nhiên và dừa sữa dừaDừa sữa dừa tìm thấy chủ yếu xảy ra ở giữa dừa và dừa, đó là chi phí cao của dừa qua cửa của Phó chủ tịch, và những bông hoa nữ. Không có bài học về nhau vì sữa dừa, cây dừa trong điều kiện hitthi, Ronaldo hợp tử (Heterozygote) hoặc cây dừa sữa dừa sẽ là một số cơ hội trong dừa sẽ xảy ra trong trường hợp 2:1. sữa dừa sản lượng là chỉ là một trong số trồng dừa, dừa là một kết quả bình thường nào được gây ra bởi một sự kết hợp của gaysorn gaysorn một phụ nữ giữa Chan Chan của anh trai, với một gaysorn địa phương trong tương tự.2. năng suất sữa dừa được trồng trên một vài của cùng một khu vực hoặc gần đó. Dừa sữa là xảy ra do các đường pha trộn, hoặc hỗn hợp trong cùng một mẫu nhưng CHAN.Ngoài các giống dừa sữa dừa được tìm thấy trong dừa và sữa dừa là cao trong loài dừa nước hoa giống hoặc một con lợn màu xanh lá cây, mà là một cơ hội ngắn hơn để tìm nước hoa dừa sữa dừa trong hiếm. Bởi vì hầu hết các cửa hàng có thể được tìm thấy bán mềm kết quả trong trường hợp mà chủ sở hữu của vườn làm việc thu thập. Hiện tượng xảy ra là cách để phát triển giống dừa, dừa, nước hoa, TIA purebred tiếp tục.Thêm sữa dừa, dừa, dân số.Dừa sữa từ sinh hiện tượng trong tự nhiên có thể mang lại những kiến thức mà xảy ra sau đó phát triển để tạo ra loại sữa dừa, và có rất nhiều đủ cho nhu cầu của thị trường trong nước và xuất khẩu sang thị trường nước ngoài, cả hai trong tươi và chế biến thịt.Thêm sữa dừa với dân số. Theo các cách sau:1. đặt hiệu quả dừa, dừa và sữa dừa là bình thường trong ống nghiệm sụp đổ sắp tới là cách mà người nông dân tiếp tục trong một thời gian dài. Cơ hội để có một nửa sữa dừa với cây dừa.2. kết hợp sữa dừa, cây dừa, kiểm soát gaysorn, trộn chính mình bằng cách cắt một bông hoa để sản xuất một phấn hoa với độ ẩm không vượt quá 15% trong các kênh thông thường, tủ lạnh, tiêu thụ 2 tuần bằng cách sử dụng một túi vải bao gồm các ngôi sao nữ Chan. Khi nở mang phấn hoa pha trộn với bột dinsophong 1:20 tỷ lệ để phun mỗi ngày cho đến khi hoa nữ sẽ nở để lại trong 2 tuần trước, và sau đó mở túi. Cách tiếp cận này sẽ có cơ hội để có cây dừa và sữa dừa sữa dừa cây dừa, nhưng hai phần ba đa số sẽ là rất cao. Thật khó để leo lên đến một hoa cắt và chăn nuôi.3. phát hành chén dừa pha trong ống nghiệm để khoa học thực phẩm, các điều kiện aseptic trong phòng thí nghiệm người sáng kiến tiếp tục được thành công như những người đầu tiên là tiến sĩ Doe Kusmaen (Dr.de Guzman) giáo sư tại Đại học Philippines, Los. Lưu yo nơi (Los Banos) 2503 (1960) 2533 (1990) năm vào năm nay và một nhóm các trung tâm nghiên cứu Philippine đã phát triển nông nghiệp chén dừa sữa dừa nông dân trồng pha là một thương mại. Sữa dừa và sữa dừa cây dừa được thuần chủng, nhưng vì Philippines dừa trồng cây giống là rất phổ biến rằng nó là khó khăn cho các loài dừa miễn phí. Dừa sữa dừa đồn điền gần loài bình thường. Làm cho đầu ra sẽ thay đổi.
đang được dịch, vui lòng đợi..
Kết quả (Việt) 2:[Sao chép]
Sao chép!
มะพร้าวกะทิ เป็นมะพร้าวที่ผลมีเนื้อหนา ฟู อ่อนนิ่ม รสหวานมันอร่อย เป็นที่นิยมบริโภค โดยทั่วไปจะพบมะพร้าวกะทิเกิดร่วมกับมะพร้าวผลปกติในต้นมะพร้าวธรรมดาบางต้นเท่านั้น ปริมาณที่พบมีน้อย และหายาก จึงทำให้มะพร้าวกะทิมีราคาแพง ประมาณผลละ 30-50 บาท แพงกว่ามะพร้าวธรรมดา 5-10 เท่า

ลักษณะเนื้อมะพร้าวกะทิ

เนื้อมะพร้าวกะทิ จะแตกต่างจากเนื้อมะพร้าวธรรมดา ทั้งนี้เนื่องจากคาร์โบไฮเดรตชนิดหนึ่งที่ละลายน้ำได้ที่เรียกว่ากาแลคโตแมนนัน (Galactomannan) ซึ่งเป็นส่วนประกอบของเนื้อมะพร้าวธรรมดา ถูกเอนไซม์ชนิดหนึ่งที่เรียกว่า แอลฟ่า-ดี-กาแลคโตซิเดส เปลี่ยนกาแลคโตแมนนัน เป็นคาร์โบไฮเดรตอีกชนิดหนึ่งที่เรียกว่า แมนนัน (Mannan) ซึ่งสามารถละลายน้ำได้แต่ในมะพร้าวกะทิไม่มีเอนไซม์ตัวนี้ ทำให้กาแลคโตแมนนัน ซึ่งมีลักษณะนิ่มคล้ายวุ้นยังคงลักษณะเดิม แทนที่จะเปลี่ยนเป็นเนื้อมะพร้าวธรรมดา

เนื้อมะพร้าวกะทิที่พบจะแบ่งได้ 3 แบบ คือ

1. เนื้อหนาเล็กน้อย และนุ่มเล็กน้อย (นุ่มคล้ายข้าวสุก) น้ำข้นเล็กน้อย

2. เนื้อหนาปานกลาง และนุ่มปานกลาง

3. เนื้อหนามาก และฟูเต็มกะลา

การจำแนกลักษณะเนื้อมะพร้าวกะทิ ดังกล่าวข้างต้นอาศัยจากประสบการณ์ทางสายตา

แหล่งมะพร้าวกะทิในธรรมชาติ

พบมะพร้าวกะทิกระจายทั่วไปในประเทศที่ปลูกมะพร้าวที่สำคัญของโลกและมีชื่อเรียกเฉพาะถิ่นที่ปลูกมะพร้าวกะทิ นอกจากประเทศไทยแล้ว ได้แก ฟิลิปปินส์ เรียกว่า มาคาปูโน (Makapuno) อินเดีย เรียกว่า ไทรุเธนไก (Thairu Thengai) อินโดนีเซีย และมาเลเซีย เรียกว่า คอร์ปิยอร์ (Korpyor) ศรีลังกา เรียกว่า ดิกิริโปล (Dikiri Pol)

ในประเทศไทยจะพบกระจายตามแหล่งปลูกที่สำคัญ ได้แก่ อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดชุมพร จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นต้น

การเกิดมะพร้าวกะทิ

ซูนิก้า (Zunica) ชาวฟิลิปปินส์ได้ทำการศึกษา โดยการควบคุมการผสมเกสรมะพร้าวต้นที่ให้ผลมะพร้าวกะทิ และมะพร้าวธรรมดา ให้ผสมตัวเอง ผลปรากฎว่าได้ผลมะพร้าวธรรมดา 3 ส่วน และมะพร้าวกะทิ 1 ส่วน จึงสรุปได้ว่าการเกิดมะพร้าวกะทิเป็นเรื่องของพันธุกรรม ลักษณะการเกิดมะพร้าวกะทิถูกควบคุมโดยยืนเพียงคู่เดียว และถ่ายทอดตามกฎของเมนเดลทุกประการ ลักษณะกะทิเป็นลักษณะด้อย ส่วนลักษณะธรรมดาเป็นลักษณะข่ม และต้นมะพร้าวที่ให้ลูกเป็นกะทิอยู่ในสภาพฮีทธีโรไซโกท (Heterozygote)หรือลักษณะที่เป็นพันธุ์ทาง เมื่อมะพร้าวธรรมดาผสมกับมะพร้าวพันธุ์ทาง จึงให้ผลผลิตออกมาเป็นมะพร้าวธรรมดา 3 ส่วน มะพร้าวกะทิ 1 ส่วน

ปัจจุบันฟิลิปปินส์ได้พบมะพร้าวต้นที่ให้ผลมีเนื้อเหมือนมะพร้าวธรรมดาไม่ฟู เมื่อเคี้ยวจะมีลักษณะนุ่มอร่อย ฟิลิปปินส์เรียกมะพร้าวพันธุ์ดังกล่าวว่า “โลโน” (Lono) ผลมะพร้าวโลโนไม่สามารถเพาะให้งอกเป็นต้นเช่นเดียวกับมะพร้าวกะทิ

การสังเกตผลมะพร้าวกะทิ

การเก็บเกี่ยวมะพร้าวจากต้นที่เป็นกะทิในทะลายหนึ่ง จะพบผลที่เป็นกะทิประมาณ 1 หรือ 2 ผล ใน 10 ผล ข้อสังเกตผลที่เป็นกะทิอายุ 11-12 เดือน เมื่อเขย่าผลจะไม่ได้ยินเสียงดอนน้ำ ถ้าเป็นมะพร้าวปกติจะได้ยินเสียงดอนน้ำ ชาวสวนมะพร้าวบางคนมีความชำนาญจากการฟังเสียง เมื่อปอกเปลือกออกเหลือแต่กะลาแล้วใช้นิ้วดีดเสียงดังจะแตกต่างกันระหว่างมะพร้าวกะทิและมะพร้าวปกติ

ปรากฏการณ์การเกิดมะพร้าวกะทิในธรรมชาติ

มะพร้าวกะทิที่พบส่วนใหญ่เกิดขึ้นในมะพร้าวกลางและมะพร้าวใหญ่ ซึ่งเป็นมะพร้าวพันธุ์ต้นสูง ที่มีช่วงการบานของดอกตัวผู้ และดอกตัวเมีย ไม่คาบเกี่ยวกันเนื่องจากต้นมะพร้าวที่ให้ผลมะพร้าวกะทิอยู่ในสภาพฮีทธีโรไซโกต(Heterozygote) หรือพันธุ์ทาง โอกาสจะเกิดมะพร้าวกะทิบางผลในมะพร้าวต้นนั้นจะเกิดขึ้นได้ใน 2 กรณี คือ

1. มะพร้าวที่ให้ผลกะทิ ปลูกอยู่เพียงต้นเดียวท่ามกลางมะพร้าวที่ให้ผลปกติ การจะเกิดมะพร้าวกะทิได้จะต้องเกิดจากการผสมเกสรระหว่างเกสรตัวเมียของจั่นพี่กับเกสรตัวผู้ของจั่นน้องภายในต้นเดียวกัน

2. มะพร้าวที่ให้ผลกะทิ ปลูกอยู่หลายต้นในบริเวณเดียวกัน หรือใกล้เคียงกัน การเกิดมะพร้าวกะทิจะเกิดจากการผสมข้ามต้น หรือผสมภายในต้นเดียวกันแต่คนละจั่น

นอกจากพบมะพร้าวกะทิ ในมะพร้าวพันธุ์ต้นสูงแล้วยังพบมะพร้าวกะทิในพันธุ์มะพร้าวน้ำหอม หรือหมูสีเขียว ซึ่งเป็นพันธุ์เตี้ย โอกาสที่จะพบมะพร้าวกะทิในมะพร้าวน้ำหอมมีน้อยมาก เพราะส่วนใหญ่จะเก็บผลอ่อนขาย จะพบได้ในกรณีที่เจ้าของสวนเก็บผลไว้ทำพันธุ์ ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น จึงเป็นแนวทางในการพัฒนาพันธุ์มะพร้าวกะทิน้ำหอมต้นเตี้ยพันธุ์แท้ต่อไป

การเพิ่มประชากรมะพร้าวกะทิ

จากปรากฏการณ์การเกิดมะพร้าวกะทิในธรรมชาติ สามารถที่จะนำความรู้ที่เกิดขึ้นนั้นมาพัฒนาเพื่อสร้างสายพันธุ์ที่ให้มะพร้าวกะทิที่มีคุณภาพ และมีปริมาณมากพอเพียงกับความต้องการของตลาดภายในประเทศ และนำไปสู่การส่งออกตลาดต่างประเทศ ทั้งในรูปเนื้อสดและแปรรูป

การเพิ่มประชากรมะพร้าวกะทิมีวิธีดำเนินการ ดังต่อไปนี้

1. เก็บผลมะพร้าวที่ผลปกติในทะลายที่มีมะพร้าวกะทิมาเพาะ เป็นวิธีที่เกษตรกรดำเนินการมาเป็นเวลานานแล้ว โอกาสที่จะได้ต้นมะพร้าวกะทิมีเพียงครึ่งเดียว

2. ควบคุมการผสมเกสรต้นมะพร้าวกะทิให้ผสมตัวเอง โดยการตัดดอกตัวผู้ไปผลิตเป็นละอองเกสรที่มีความชื้นไม่เกิน 15% เก็บในตู้เย็นช่องธรรมดาได้นาน 2 สัปดาห์ ใช้ถุงผ้าใบคลุมจั่นที่มีดอกตัวเมีย เมื่อบานก็นำละอองเกสรผสมกับแป้งดินสอพอง อัตราส่วน 1:20 ไปพ่นทุกวันจนกว่าดอกตัวเมียจะบานหมด ทิ้งไว้ 2 สัปดาห์ แล้วจึงเปิดถุงออก วิธีการนี้จะมีโอกาสได้ต้นมะพร้าวกะทิ 2 ใน 3 แต่ต้นมะพร้าวกะทิส่วนใหญ่จะสูงมาก จึงลำบากในการปีนขึ้นไปตัดดอกตัวผู้และผสมพันธุ์

3. การนำคัพภะมะพร้าวกะทิไปเพาะเลี้ยงในอาหารวิทยาศาสตร์ ในห้องปฏิบัติการสภาพปลอดเชื้อ บุคคลที่เป็นผู้ริเริ่มดำเนินการ จนเป็นผลสำเร็จเป็นคนแรกคือ ดร. เดอ กูซแมน (Dr.de Guzman) อาจารย์มหาวิทยาลัยฟิลิปปินส์แห่งลอส บันยอส (Los Banos)เมื่อปี 2503 และในปี 2533 ทีมงานของศูนย์วิจัยฟิลิปปินส์ได้พัฒนาการเพาะเลี้ยงคัพภะมะพร้าวกะทิจำหน่ายให้เกษตรกรปลูกเป็นการค้า ต้นมะพร้าวกะทิที่ได้มะพร้าวกะทิพันธุ์แท้แต่เนื่องจากประเทศฟิลิปปินส์ ปลูกมะพร้าวพันธุ์ปกติอยู่ทั่วไป จึงหาที่ปลอดจากมะพร้าวพันธุ์อื่นได้ยาก การปลูกมะพร้าวกะทิใกล้กับมะพร้าวพันธุ์ปกติ ทำให้ผลผลิตที่ได้จะเป็นกะ
đang được dịch, vui lòng đợi..
 
Các ngôn ngữ khác
Hỗ trợ công cụ dịch thuật: Albania, Amharic, Anh, Armenia, Azerbaijan, Ba Lan, Ba Tư, Bantu, Basque, Belarus, Bengal, Bosnia, Bulgaria, Bồ Đào Nha, Catalan, Cebuano, Chichewa, Corsi, Creole (Haiti), Croatia, Do Thái, Estonia, Filipino, Frisia, Gael Scotland, Galicia, George, Gujarat, Hausa, Hawaii, Hindi, Hmong, Hungary, Hy Lạp, Hà Lan, Hà Lan (Nam Phi), Hàn, Iceland, Igbo, Ireland, Java, Kannada, Kazakh, Khmer, Kinyarwanda, Klingon, Kurd, Kyrgyz, Latinh, Latvia, Litva, Luxembourg, Lào, Macedonia, Malagasy, Malayalam, Malta, Maori, Marathi, Myanmar, Mã Lai, Mông Cổ, Na Uy, Nepal, Nga, Nhật, Odia (Oriya), Pashto, Pháp, Phát hiện ngôn ngữ, Phần Lan, Punjab, Quốc tế ngữ, Rumani, Samoa, Serbia, Sesotho, Shona, Sindhi, Sinhala, Slovak, Slovenia, Somali, Sunda, Swahili, Séc, Tajik, Tamil, Tatar, Telugu, Thái, Thổ Nhĩ Kỳ, Thụy Điển, Tiếng Indonesia, Tiếng Ý, Trung, Trung (Phồn thể), Turkmen, Tây Ban Nha, Ukraina, Urdu, Uyghur, Uzbek, Việt, Xứ Wales, Yiddish, Yoruba, Zulu, Đan Mạch, Đức, Ả Rập, dịch ngôn ngữ.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: