โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศที่ดิน เพื่อการบริหารจัดการระบบที่ดิน ชวงขยาย dịch - โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศที่ดิน เพื่อการบริหารจัดการระบบที่ดิน ชวงขยาย Việt làm thế nào để nói

โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศที่ดิน เพื่


โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศที่ดิน เพื่อการบริหารจัดการระบบที่ดิน ชวงขยายการดําเนินงานตามตนแบบ

กรมที่ดินไดรับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีใหดําเนินงานตนแบบโครงการพัฒนาระบบ สารสนเทศที่ดินเพื่อการบริหารจัดการระบบที่ดิน ณ สํานักงานที่ดินจังหวัดเชียงใหม และสํานักงานที่ดินจังหวัดเชียงใหม สาขาพราว เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2546 และไดเสนอโครงการฯ ชวงขยายการดําเนินงานตามตนแบบตอคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2547 ซึ่ง คณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี ชุดที่ 2 ดานคมนาคมและแรงงาน มีมติเมื่อวันที่ 22 กันยายน 2547 เห็นชอบในหลักการโครงการฯ สําหรับรายละเอียดขอบเขต ขั้นตอน และวิธีการ ดําเนินงานใหกรมที่ดินดําเนินการจางที่ปรึกษา เพื่อศึกษาการบริหารจัดการโครงการฯ ในเรื่อง เกี่ยวกับ
- วงเงินงบประมาณ และแหลงที่มาของงบประมาณ
- ความคุมคาของการดําเนินงานและการจัดหารายได เพื่อสรางจุดคุมทุน
- การจัดองคการในรูปองคการมหาชนและการจัดการ
- วิเคราะหแผนการบริหารจัดการดานขอมูล แลวเสนอผลการศึกษาใหคณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรีฯ พิจารณาอีกครั้งหนึ่ง
วันที่ 31 พฤษภาคม 2548 กรมที่ดินจึงจางศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัยทําการศึกษาตามมติคณะกรรมการกลั่นกรองฯ ซึ่งกรมที่ดินไดตรวจรับผลการศึกษา ดังกลาว เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ 2549 ซึ่งกรมที่ดินจะตองนําเสนอตอคณะกรรมการกลั่นกรองฯ เพื่อพิจารณาตอไป ผลการศึกษาสรุปไดดังนี้
1. ความเหมาะสมดานการบริหารจัดการระบบสารสนเทศที่ดินและระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ
1.1 ความเหมาะสมดานการบริหารจัดการระบบสารสนเทศที่ดิน
ในการประเมินความเหมาะสมของโครงการเบื้องตนพบวาขั้นตอนและแนวทางในการ ดําเนินโครงการ และการออกแบบเชิงมโนทัศนของระบบมีความเหมาะสมปานกลาง หากทําให ขั้นตอน และขอบเขตของกิจกรรมตาง ๆ รวมทั้งการสรางแบบจําลองทางธุรกิจใหมใหชัดเจนยิ่งขึ้น ก็จะทําใหโครงการมีความเหมาะสมสูงขึ้น สวนการออกแบบแบบจําลองและโครงสรางฐานขอมูล ของระบบและการนําเขาจัดสรางฐานขอมูลแผนที่แปลงที่ดิน มีความเหมาะสมต่ํา จึงควรมี การดําเนินการออกแบบจําลองขอมูลที่มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น และกําหนดมาตรฐานการนําเขา


ขอมูลใหชัดเจน จะทําใหมีความเหมาะสมในดานนี้สูงขึ้น สําหรับการออกแบบพัฒนาระบบงาน ประยุกตนั้น มีความเหมาะสมปานกลางคอนขางสูง
ในภาพรวมแลว โครงการนี้มีความเหมาะสมทางดานเทคนิคที่สามารถดําเนินการ ตอไปได แตอยางไรก็ตามที่ปรึกษาขอเสนอแนวทางในการเพิ่มโอกาสของความสําเร็จและความ ยั่งยืนของระบบสารสนเทศที่ดินที่จะพัฒนาขึ้น ดังนี้
(1) แนวทางการดําเนินการโครงการฯ
(1.1) ควรจัดตั้งคณะกรรมการกําหนดยุทธศาสตรดานสารสนเทศของกรมที่ดิน หรืออาจปรับปรุงขึ้นจากคณะกรรมการเดิมที่มีอยูแลวใหดูแลภาพรวมของการพัฒนาและประยุกต ใชระบบสารสนเทศในกรมที่ดิน
(1.2) ควรจัดใหมีกลไกที่จะทําใหเกิดการใชประโยชนจากองคความรูตาง ๆ ทาง เทคนิค โดยเฉพาะเทคนิคดานขอมูลภูมิสารสนเทศที่มีอยูในหมูขาราชการกรมที่ดินในกระบวนการพัฒนา ระบบสารสนเทศที่ดิน
(1.3) ควรกําหนดรายละเอียดขั้นตอนของการดําเนินงานในชวงขยายผล จากโครงการตนแบบฯ โดยใหมีขั้นตอนการศึกษาประเมินผลการดําเนินงานของโครงการตนแบบฯ การออกแบบจัดทําขอกําหนดทางเทคนิคในการพัฒนาระบบฯและฐานขอมูลที่ดิน และการจัด โครงสรางองคกรในการบริหารจัดการโครงการ ซึ่งรวมไปถึงการบริหารความเสี่ยงดวย
(2) การออกแบบระบบสารสนเทศที่ดิน
(2.1) จัดใหมีการศึกษาออกแบบแบบจําลองทางธุรกิจของกรมที่ดินที่จะทําใหเกิด การใชประโยชนจากเทคโนโลยีสารสนเทศมาปรับปรุงประสิทธิภาพและเพิ่มรายไดของกรมที่ดิน อยางเต็มที่ โดยผลการศึกษาจะตองมีขอแนะนําเกี่ยวกับเงื่อนไขขอจํากัดและการเตรียมการตาง ๆ ที่จะตองมีการดําเนินการ
(2.2) ศึกษาทบทวนโครงสรางเชิงมโนทัศนของระบบ โดยนําแนวคิดของ Cadastre 2014 มาพิจารณา และออกแบบโครงสรางใหครอบคลุมหรือสามารถเชื่อมตอกับระบบงานดาน การสํารวจรังวัดของสวนกลาง
(2.3) ศึกษาออกแบบแบบจําลองขอมูลแผนที่แปลงที่ดิน โดยพิจารณาจากกรอบ
แบบจําลองขอมูลมาตรฐานตาง ๆ ที่มีอยู เชน FGDC Cadastral Data Content Standard หรือ ArcGIS Parcel Data Model เปนตน และสรางความตกลงรวมกับหนวยงานดานที่ดินอื่น ๆ เพื่อ กําหนดเปนแบบจําลองขอมูลแปลงที่ดินที่เปนมาตรฐานของประเทศไทย
(3) การจัดสรางฐานขอมูลแผนที่แปลงที่ดิน


(3.1) สรุปรวบรวมปญหา และแนวทางการแกไขเกี่ยวกับความไมครบถวนและ คุณภาพของแหลงขอมูลในกรมที่ดิน นําเสนอใหผูเกี่ยวของรับทราบเพื่อแกไขรวมกัน
(3.2) การจัดทํามาตรฐานดานงานตรวจสอบปรับปรุงขอมูลแผนที่แปลงที่ดิน รวมทั้งมาตรฐานของการสํารวจ นําเขา และจัดระบบขอมูลแปลงที่ดินในระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตรใหมีมาตรฐานที่ชัดเจน
(3.3) ออกแบบและพัฒนาโปรแกรมเคร่ืองมือสําหรับระบบการควบคุมคุณภาพ ของกระบวนการทํางานนําเขาจัดสรางฐานขอมูลแปลงที่ดิน ใหเปนระบบที่มีประสิทธิภาพและ ทํางานไดแบบอัตโนมัติเทาที่จะเปนไปได
(4) การจัดการขอมูล
(4.1) จัดสราง Metadata ของขอมูลแปลงที่ดิน โดยใหมีรายละเอียดลงถึงในระดับ รายแปลง โดยใหเปน Metadata ที่ไดตามมาตรฐานของประเทศไทย และมีเนื้อหาเพียงพอที่จะ สนับสนุนการสืบคนหาขอมูล การเผยแพรขอมูล และการบริหารจัดการขอมูล โดยพัฒนาโปรแกรม เครื่องมือในการกรอก แกไข และสืบคนขอมูล Metadata ไดผานทาง Internet/Intranet
(4.2) พัฒนาระบบงานประยุกตที่สะดวกตอการใชงาน โดยใหเจาหนาที่ ที่ปฏิบัติงานที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงขอมูล ดําเนินการปรับปรุงขอมูลใหสําเร็จเบ็ดเสร็จใน ขั้นตอนการปฏิบัติงานนั้นเลยหากเปนไปได รวมทั้งจะตองมีการศึกษาแนวทางการพัฒนา ระบบงานประยุกตใหสามารถเชื่อมตอกับระบบงานดานการสํารวจรังวัดของสวนกลาง และศึกษา ทบทวนโปรแกรมประยุกตในสวนของระบบ GIS/LIS ที่ไดพัฒนาขึ้นในโครง
0/5000
Từ: -
Sang: -
Kết quả (Việt) 1: [Sao chép]
Sao chép!
Đất dự án phát triển hệ thống thông tin cho hệ thống quản lý đất đai Marrakech  vòng kết nối mở rộng hoạt động của tín hiệu .กรมที่ดินไดรับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีใหดําเนินงานตนแบบโครงการพัฒนาระบบ สารสนเทศที่ดินเพื่อการบริหารจัดการระบบที่ดิน ณ สํานักงานที่ดินจังหวัดเชียงใหม และสํานักงานที่ดินจังหวัดเชียงใหม สาขาพราว เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2546 และไดเสนอโครงการฯ ชวงขยายการดําเนินงานตามตนแบบตอคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2547 ซึ่ง คณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี ชุดที่ 2 ดานคมนาคมและแรงงาน มีมติเมื่อวันที่ 22 กันยายน 2547 เห็นชอบในหลักการโครงการฯ สําหรับรายละเอียดขอบเขต ขั้นตอน และวิธีการ ดําเนินงานใหกรมที่ดินดําเนินการจางที่ปรึกษา เพื่อศึกษาการบริหารจัดการโครงการฯ ในเรื่อง เกี่ยวกับ- วงเงินงบประมาณ และแหลงที่มาของงบประมาณ- ความคุมคาของการดําเนินงานและการจัดหารายได เพื่อสรางจุดคุมทุน- การจัดองคการในรูปองคการมหาชนและการจัดการ- วิเคราะหแผนการบริหารจัดการดานขอมูล แลวเสนอผลการศึกษาใหคณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรีฯ พิจารณาอีกครั้งหนึ่งวันที่ 31 พฤษภาคม 2548 กรมที่ดินจึงจางศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัยทําการศึกษาตามมติคณะกรรมการกลั่นกรองฯ ซึ่งกรมที่ดินไดตรวจรับผลการศึกษา ดังกลาว เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ 2549 ซึ่งกรมที่ดินจะตองนําเสนอตอคณะกรรมการกลั่นกรองฯ เพื่อพิจารณาตอไป ผลการศึกษาสรุปไดดังนี้1. ความเหมาะสมดานการบริหารจัดการระบบสารสนเทศที่ดินและระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ
1.1 ความเหมาะสมดานการบริหารจัดการระบบสารสนเทศที่ดิน
ในการประเมินความเหมาะสมของโครงการเบื้องตนพบวาขั้นตอนและแนวทางในการ ดําเนินโครงการ และการออกแบบเชิงมโนทัศนของระบบมีความเหมาะสมปานกลาง หากทําให ขั้นตอน และขอบเขตของกิจกรรมตาง ๆ รวมทั้งการสรางแบบจําลองทางธุรกิจใหมใหชัดเจนยิ่งขึ้น ก็จะทําใหโครงการมีความเหมาะสมสูงขึ้น สวนการออกแบบแบบจําลองและโครงสรางฐานขอมูล ของระบบและการนําเขาจัดสรางฐานขอมูลแผนที่แปลงที่ดิน มีความเหมาะสมต่ํา จึงควรมี การดําเนินการออกแบบจําลองขอมูลที่มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น และกําหนดมาตรฐานการนําเขา


ขอมูลใหชัดเจน จะทําใหมีความเหมาะสมในดานนี้สูงขึ้น สําหรับการออกแบบพัฒนาระบบงาน ประยุกตนั้น มีความเหมาะสมปานกลางคอนขางสูง
ในภาพรวมแลว โครงการนี้มีความเหมาะสมทางดานเทคนิคที่สามารถดําเนินการ ตอไปได แตอยางไรก็ตามที่ปรึกษาขอเสนอแนวทางในการเพิ่มโอกาสของความสําเร็จและความ ยั่งยืนของระบบสารสนเทศที่ดินที่จะพัฒนาขึ้น ดังนี้
(1) แนวทางการดําเนินการโครงการฯ
(1.1) ควรจัดตั้งคณะกรรมการกําหนดยุทธศาสตรดานสารสนเทศของกรมที่ดิน หรืออาจปรับปรุงขึ้นจากคณะกรรมการเดิมที่มีอยูแลวใหดูแลภาพรวมของการพัฒนาและประยุกต ใชระบบสารสนเทศในกรมที่ดิน
(1.2) ควรจัดใหมีกลไกที่จะทําใหเกิดการใชประโยชนจากองคความรูตาง ๆ ทาง เทคนิค โดยเฉพาะเทคนิคดานขอมูลภูมิสารสนเทศที่มีอยูในหมูขาราชการกรมที่ดินในกระบวนการพัฒนา ระบบสารสนเทศที่ดิน
(1.3) ควรกําหนดรายละเอียดขั้นตอนของการดําเนินงานในชวงขยายผล จากโครงการตนแบบฯ โดยใหมีขั้นตอนการศึกษาประเมินผลการดําเนินงานของโครงการตนแบบฯ การออกแบบจัดทําขอกําหนดทางเทคนิคในการพัฒนาระบบฯและฐานขอมูลที่ดิน และการจัด โครงสรางองคกรในการบริหารจัดการโครงการ ซึ่งรวมไปถึงการบริหารความเสี่ยงดวย
(2) การออกแบบระบบสารสนเทศที่ดิน
(2.1) จัดใหมีการศึกษาออกแบบแบบจําลองทางธุรกิจของกรมที่ดินที่จะทําใหเกิด การใชประโยชนจากเทคโนโลยีสารสนเทศมาปรับปรุงประสิทธิภาพและเพิ่มรายไดของกรมที่ดิน อยางเต็มที่ โดยผลการศึกษาจะตองมีขอแนะนําเกี่ยวกับเงื่อนไขขอจํากัดและการเตรียมการตาง ๆ ที่จะตองมีการดําเนินการ
(2.2) ศึกษาทบทวนโครงสรางเชิงมโนทัศนของระบบ โดยนําแนวคิดของ Cadastre 2014 มาพิจารณา และออกแบบโครงสรางใหครอบคลุมหรือสามารถเชื่อมตอกับระบบงานดาน การสํารวจรังวัดของสวนกลาง
(2.3) ศึกษาออกแบบแบบจําลองขอมูลแผนที่แปลงที่ดิน โดยพิจารณาจากกรอบ
แบบจําลองขอมูลมาตรฐานตาง ๆ ที่มีอยู เชน FGDC Cadastral Data Content Standard หรือ ArcGIS Parcel Data Model เปนตน และสรางความตกลงรวมกับหนวยงานดานที่ดินอื่น ๆ เพื่อ กําหนดเปนแบบจําลองขอมูลแปลงที่ดินที่เปนมาตรฐานของประเทศไทย
(3) การจัดสรางฐานขอมูลแผนที่แปลงที่ดิน


(3.1) สรุปรวบรวมปญหา และแนวทางการแกไขเกี่ยวกับความไมครบถวนและ คุณภาพของแหลงขอมูลในกรมที่ดิน นําเสนอใหผูเกี่ยวของรับทราบเพื่อแกไขรวมกัน
(3.2) การจัดทํามาตรฐานดานงานตรวจสอบปรับปรุงขอมูลแผนที่แปลงที่ดิน รวมทั้งมาตรฐานของการสํารวจ นําเขา และจัดระบบขอมูลแปลงที่ดินในระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตรใหมีมาตรฐานที่ชัดเจน
(3.3) ออกแบบและพัฒนาโปรแกรมเคร่ืองมือสําหรับระบบการควบคุมคุณภาพ ของกระบวนการทํางานนําเขาจัดสรางฐานขอมูลแปลงที่ดิน ใหเปนระบบที่มีประสิทธิภาพและ ทํางานไดแบบอัตโนมัติเทาที่จะเปนไปได
(4) การจัดการขอมูล
(4.1) จัดสราง Metadata ของขอมูลแปลงที่ดิน โดยใหมีรายละเอียดลงถึงในระดับ รายแปลง โดยใหเปน Metadata ที่ไดตามมาตรฐานของประเทศไทย และมีเนื้อหาเพียงพอที่จะ สนับสนุนการสืบคนหาขอมูล การเผยแพรขอมูล และการบริหารจัดการขอมูล โดยพัฒนาโปรแกรม เครื่องมือในการกรอก แกไข และสืบคนขอมูล Metadata ไดผานทาง Internet/Intranet
(4.2) พัฒนาระบบงานประยุกตที่สะดวกตอการใชงาน โดยใหเจาหนาที่ ที่ปฏิบัติงานที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงขอมูล ดําเนินการปรับปรุงขอมูลใหสําเร็จเบ็ดเสร็จใน ขั้นตอนการปฏิบัติงานนั้นเลยหากเปนไปได รวมทั้งจะตองมีการศึกษาแนวทางการพัฒนา ระบบงานประยุกตใหสามารถเชื่อมตอกับระบบงานดานการสํารวจรังวัดของสวนกลาง และศึกษา ทบทวนโปรแกรมประยุกตในสวนของระบบ GIS/LIS ที่ไดพัฒนาขึ้นในโครง
đang được dịch, vui lòng đợi..
Kết quả (Việt) 2:[Sao chép]
Sao chép!

Dự án Hệ thống thông tin đất đai Để quản lý đất đai Các  việc mở rộng các hoạt động phù hợp với mô hình 

 Vụ Đất đai đã được chấp thuận bởi nội  hành  dự án phát triển nguyên mẫu. đất Hệ thống quản lý thông tin đất đai Văn phòng Đất ở Chiang Mai . Và Cục Đất đai Chiang Mai chi nhánh  phước lành  tin tức trên 07 tháng 10 năm 2546 và các  đề xuất dự án. Các  việc mở rộng các hoạt động của   hình thành nội các vào ngày 22 tháng 7 2547 nội các đề xuất của Ủy ban về thứ hai  việc vận chuyển và lao động. Vào ngày 22 tháng 9 năm 2547, đã phê duyệt dự án về nguyên tắc. Để biết chi tiết, phạm vi, quy trình và phương pháp hoạt động để hoạt động thì Sở Địa   tư vấn. Nghiên cứu quản lý các chương trình liên quan đến với
- ngân sách.  nguồn và các nguồn tài trợ
- bảo vệ  Jan  của điều hành và tài chính thu nhập .  để tạo ra các điểm  vốn
- Tổ chức  trong việc tổ chức và quản lý  công chúng
- kế hoạch quản lý Phân tích   phía  thông tin. Các nghiên cứu này cung cấp đề xuất các  UBND  để Nội các. Xem xét, một lần nữa,
vào ngày 31 Tháng Năm 2548 Cục Quản lý Đất đai  Trung tâm Outreach   của Chulalongkorn . nghiên cứu trường đại học của Ủy ban hỗn hợp. Vụ đất đã xem xét các kết quả của nghiên cứu này   tin tức trên 06 tháng 2  2549 Bộ Đất đai, mà sẽ được trình bày   các quốc gia Uỷ ban. Để xem xét các  Các kết quả được tóm tắt như sau 
một. Các  các hệ thống thông tin quản lý thích hợp và hệ thống thông tin đất đai
1.1 thích hợp  các hệ thống thông tin quản lý đất đai
để biện minh cho  ban đầu cho thấy  các thủ tục và hướng dẫn. Dự án  hình khái niệm và thiết kế của hệ thống là phù hợp bước trung gian  nguyên nhân và mức độ hoạt động, bao gồm cả các   tạo ra mô hình kinh doanh mới để   rõ ràng hơn.  dự án sẽ gây ra một sự gia tăng hợp lý. Các  mô hình thiết kế và cấu trúc cơ sở dữ liệu   thông tin. Hệ thống và nhập khẩu  xử  tạo ra các cơ sở dữ liệu  dữ liệu bản đồ đất. Có phải là hành động ít thích hợp được thiết kế để mô phỏng các thông tin  hiệu quả hơn. Và thiết lập các tiêu chuẩn cho việc nhập khẩu   các thông tin cung cấp  rõ ràng.  tăng là phù hợp trong  cao. Đối với việc thiết kế, phát triển và ứng dụng thích hợp  vừa  Tin nhắn  cao nhất trong toàn bộ . Chương trình này là cách phù hợp  các kỹ thuật có thể tiếp tục là   nhưng  nhất  Tuy nhiên Advisor đề xuất các cách để tăng cơ hội thành công và. hệ thống thông tin đất đai bền vững để phát triển như sau: (1) hoạt động của dự án (1.1) Ủy ban nên xác định chiến lược   thông tin của Cục Đất đai. Hoặc cải thiện nền cũ với cái mới để    chăm sóc tổng thể của sự phát triển và ứng dụng của . Sử dụng bộ phận Hệ thống thông tin  (1.2) nên được  một cơ chế cho phép việc sử dụng   lợi  từ các tổ chức  kiến thức  các  khác nhau kỹ thuật kỹ thuật đặc biệt  bên . dữ liệu không gian địa lý hiện có trong thịt lợn    của Sở đất trong quá trình phát triển. Hệ thống thông tin đất đai (1.3) nên xác định các chi tiết của các hoạt động trong  mở rộng.  dạng dự án.  bởi quá trình đánh giá hiệu quả hoạt động của các dự án  mô hình. Thiết kế, chuẩn bị các thông số kỹ thuật  trong sự phát triển của cơ sở dữ liệu và thông tin  đất và cơ cấu tổ chức   cán bộ quản lý dự án. Chúng bao gồm quản lý rủi ro với các  (2) thiết kế hệ thống thông tin đất đai (2.1) cung cấp  một mô hình nghiên cứu thiết kế, kinh doanh của Bộ Đất đai để làm  sinh. Sử dụng  lợi  từ công nghệ thông tin để nâng cao hiệu quả và tăng doanh thu  đất là  toàn bộ kết quả của nghiên cứu sẽ  phải b  khuyến nghị về các điều kiện hạn chế và . chuẩn bị của  đó phải  hoạt động (2.2) xem xét lại cấu   quan niệm của hệ thống thị giác định hướng. Khái niệm về địa chính năm 2014 để xem xét và thiết kế cấu trúc mới    nắp hoặc có thể được kết nối với hệ thống của . đo của cuộc khảo sát của  trung mô hình nghiên cứu thiết kế (2.3), các  dữ liệu bản đồ đất. Dựa trên các mô hình, các tiêu chuẩn dữ liệu   khác nhau hiện có  như  các FGDC địa chính dữ liệu nội dung tiêu chuẩn hoặc ArcGIS Parcel Data Model là  về  và tạo  hơn đồng ý . cùng với các cơ quan của   đất khác để xác định một mô hình  b  lô sẵn đất là  tiêu chuẩn (3) để tạo ra  cơ sở dữ liệu . đất dữ liệu bản đồ (3.1) Tóm tắt các  vấn đề. Và giải quyết chéo   về tính đầy đủ và .  nguồn thông tin trong tin nhắn  cục đất.   kiến nghị có liên quan  tôi muốn thừa nhận những thiếu hụt   nhau (3.2) cho việc chuẩn bị của các chuẩn mực kiểm toán   cập nhật dữ liệu bản đồ đất. Các tiêu chuẩn của cuộc khảo sát  nhập khẩu và tổ chức thông tin  hệ thống thông tin đất đai.  Geographic  để có tiêu chuẩn rõ ràng (3.3) thiết kế ứng dụng và phát triển các công cụ trên thị trường đối với một hệ thống kiểm soát chất lượng. Quy trình nhập  xử  tạo ra các thông tin cơ sở dữ liệu  đất. Hệ thống   là hiệu quả và. Làm việc  tự động đổ  các  thể thay đổi (4) quản lý thông tin  (4.1) để tạo ra  các siêu dữ liệu của các thông tin  đất. By  các chi tiết xuống đến mức độ của sự chuyển đổi của   của Metadata  các tiêu chuẩn của Thái Lan. Và có đủ nội dung Hỗ trợ việc tìm kiếm người kế vị, các thông tin  . Phổ biến  b  thông tin.  thông tin và thông tin quản lý. Các chương trình phát triển Điền vào các điều tra Gap và thiếu hụt   bên  Metadata thông tin thông qua các   cách thức Internet / Intranet hệ điều hành (4.2), các ứng dụng thuận tiện  việc sử dụng  việc . Đến  J.  thiết  nơi. Công việc liên quan đến việc thay đổi thông tin  . Tiếp tục hoàn thiện các thông tin cung cấp   tích hợp thành công. Các hoạt động là không thể nếu  . Nghiên cứu này phải được  phát triển. Hệ thống ứng dụng của  các  có thể kết nối  để làm việc với  hơn trắc khảo sát của  ứng dụng trung tâm và xem xét nghiên cứu để  trong  số GIS / LIS. các  phát triển trong khung.





















đang được dịch, vui lòng đợi..
 
Các ngôn ngữ khác
Hỗ trợ công cụ dịch thuật: Albania, Amharic, Anh, Armenia, Azerbaijan, Ba Lan, Ba Tư, Bantu, Basque, Belarus, Bengal, Bosnia, Bulgaria, Bồ Đào Nha, Catalan, Cebuano, Chichewa, Corsi, Creole (Haiti), Croatia, Do Thái, Estonia, Filipino, Frisia, Gael Scotland, Galicia, George, Gujarat, Hausa, Hawaii, Hindi, Hmong, Hungary, Hy Lạp, Hà Lan, Hà Lan (Nam Phi), Hàn, Iceland, Igbo, Ireland, Java, Kannada, Kazakh, Khmer, Kinyarwanda, Klingon, Kurd, Kyrgyz, Latinh, Latvia, Litva, Luxembourg, Lào, Macedonia, Malagasy, Malayalam, Malta, Maori, Marathi, Myanmar, Mã Lai, Mông Cổ, Na Uy, Nepal, Nga, Nhật, Odia (Oriya), Pashto, Pháp, Phát hiện ngôn ngữ, Phần Lan, Punjab, Quốc tế ngữ, Rumani, Samoa, Serbia, Sesotho, Shona, Sindhi, Sinhala, Slovak, Slovenia, Somali, Sunda, Swahili, Séc, Tajik, Tamil, Tatar, Telugu, Thái, Thổ Nhĩ Kỳ, Thụy Điển, Tiếng Indonesia, Tiếng Ý, Trung, Trung (Phồn thể), Turkmen, Tây Ban Nha, Ukraina, Urdu, Uyghur, Uzbek, Việt, Xứ Wales, Yiddish, Yoruba, Zulu, Đan Mạch, Đức, Ả Rập, dịch ngôn ngữ.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: